Page 338 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 338

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                               266
               ในแต่ละสถำนกำรณ์  ด้วยเหตุนี้ หลังจำกพิจำรณำอย่ำง ลึกซึ้งถึงเหตุผล (Justification) ของมำตรกำรของรัฐที่พิพำทแล้ว
               ศำลเห็นว่ำ มำตรกำรดังกล่ำวยังไม่มีน�้ำหนักและเหตุผลที่เพียงพอ และตัดสินว่ำผู้ร้องเป็นเหยื่อของกำรถูกเลือกปฏิบัติ



                     ๔.๗.๒ การปรับใช้หลัก “Margin of Appreciation” กับการเลือกปฏิบัติมิติอื่น ๆ
                            จำกคดีดังกล่ำวข้ำงต้น ศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปได้พิจำรณำกฎหมำยภำยในของรัฐซึ่งส่งผลเป็นกำร

               เลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อ HIV ซึ่งหำกกรณีนี้ศำลเห็นว่ำ รัฐมี “Margin of Appreciation” หรือขอบเขตกำรใช้ดุลพินิจ
               ที่กว้ำงแล้ว กฎหมำยดังกล่ำวก็อำจใช้บังคับได้ แม้ว่ำมีลักษณะกำรเลือกปฏิบัติแต่มีน�้ำหนักและเหตุผลอย่ำงเพียงพอ

               อย่ำงไรก็ตำม คดีนี้ศำลเห็นว่ำ ผู้ติดเชื้อ HIV เป็นบุคคลที่เปรำะบำง ดังนั้น ขอบเขตแห่งกำรใช้ดุลพินิจในกำรเลือกปฏิบัติ
               จะต้องมีขอบเขตที่แคบ โดยกำรพิจำรณำประโยชน์อื่นที่กฎหมำยมุ่งคุ้มครองแล้ว จะต้องเป็นกรณีที่มีน�้ำหนักเป็นอย่ำงยิ่ง
               (Very Weighty Reasons-Test) อีกทั้งในกำรพิจำรณำควำมชอบด้วยกฎหมำยของกฎหมำยหรือมำตรกำรดังกล่ำวนั้น

               จะต้องพิจำรณำด้วยควำมเข้มงวดอย่ำงยิ่ง (Rigorous Scrutiny) จำกหลักกำรดังกล่ำวนี้ ศำลพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ
               ประโยชน์ที่กฎหมำยกรณีนี้มุ่งคุ้มครองยังมีน�้ำหนักน้อยเมื่อเทียบกับควำมเปรำะบำงของกลุ่มผู้ติดเชื้อ HIV ดังจะเห็น
               ได้จำกที่ศำลอธิบำยไว้ว่ำ มำตรกำรที่รัฐน�ำมำใช้นั้น “..อยู่บนสมมุติฐำนที่เชื่อมโยงกำรติดเชื้อ HIV กับพฤติกรรมที่ไม่

               เหมำะสม” อีกทั้งมีลักษณะ “เหมำรวม” ว่ำผู้ติดเชื้อ HIV มักเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เหมำะสมและไม่ปลอดภัย ดังนั้น ศำลจึง
               เห็นว่ำ แม้กฎหมำยดังกล่ำวมุ่งคุ้มครองประโยชน์ซึ่งก็คือควำมปลอดภัยจำกเชื้อ HIV ของประชำชน แต่เหตุผลของกฎหมำย
               ดังกล่ำวยังไม่มีน�้ำหนักเพียงพอและวำงอยู่บนสมมุติฐำนที่มีน�้ำหนักน้อยดังกล่ำว ดังนั้น กฎหมำยที่มีลักษณะเลือกปฏิบัติ

               ดังกล่ำวจึงไม่มีเหตุผลที่ชอบด้วยกฎหมำยและขัดต่อหลักกำรเลือกปฏิบัติ
                            หำกใช้กรอบกำรวิเครำะห์นี้มำเปรียบเทียบกับปัญหำที่เกิดในสภำพแวดล้อมของไทย เช่น ในระดับของ

               รัฐที่เกี่ยวข้องกับกำรตรำกฎหมำย หรือกฎ ระเบียบต่ำง ๆ หำกมีลักษณะปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีแตกต่ำงจำกบุคคล
               อื่น และกำรปฏิบัติแตกต่ำงนั้นมีเหตุผลที่มีน�้ำหนักเพียงพออย่ำงยิ่งมำรองรับ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงดังกล่ำวก็สำมำรถจัด
               อยู่ในขอบเขตแห่งดุลพินิจที่กว้ำงขึ้นได้

                            นอกจำกกรณีของผู้ติดเชื้อเอชไอวีแล้ว หลักกำรดังกล่ำวอำจน�ำไปวิเครำะห์กฎหมำยอื่นได้ เช่น กรณี
               ของกฎหมำยไทยที่ก�ำหนดให้บุคคลผู้มี “ประวัติอำชญำกรรม” ไม่สำมำรถเข้ำรับรำชกำรได้โดยไม่มีข้อยกเว้น หรือโดย

               ไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำงของควำมผิดที่กระท�ำ กรณีเหล่ำนี้อำจพิจำรณำได้ว่ำเป็นกำรเหมำรวมและอำจถือไม่ได้ว่ำมี
               “น�้ำหนักเป็นอย่ำงยิ่ง” (very weighty reasons-test)
                            หำกเปรียบเทียบกับค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ผ่ำนมำจะเห็นได้ว่ำ กรณีพระรำชบัญญัติสัญชำติ พ.ศ.

               ๒๕๐๘ ไม่ได้ให้สิทธิแก่ชำยต่ำงด้ำวที่สมรสกับหญิงไทยในกำรที่จะได้สัญชำติโดยกำรแปลงชำติได้เช่นเดียวกับหญิง
               ต่ำงด้ำวที่สมรสกับชำยสัญชำติไทยนั้น ศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ ไม่ถือเป็นบทบัญญัติที่ก่อให้เกิดควำมไม่
               เสมอภำคกันในกฎหมำยระหว่ำงชำยและหญิง หรือเป็นกำรท�ำให้ชำยและหญิงไม่ได้มีสิทธิเท่ำเทียมกัน (ค�ำวินิจฉัยศำล

               รัฐธรรมนูญที่ ๓๗/๒๕๔๖) จะเห็นได้ว่ำ โดยหลักแล้วเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันในระดับหลักกำรของกฎหมำยและ
               เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติคือเพศ แต่ศำลวินิจฉัยว่ำไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติเนื่องจำกมีเหตุผลอื่นโดยเฉพำะที่
               ศำลอธิบำยว่ำ “เป็นมาตรการรัฐที่ก�าหนดขึ้นให้เหมาะสมกับสภาพสังคมและความมั่นคงของประเทศ” ซึ่งอำจพิจำรณำ







                      266   From “Kiyutin v. Russia” para 68




                                                               337
   333   334   335   336   337   338   339   340   341   342   343