Page 336 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 336

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                                                261
                     ในคดี Stec and Others v. UK  ผู้ยื่นค�ำร้องได้ท�ำกำรร้องเรียนถึงผลของควำมแตกต่ำงของกำรเกษียณอำยุ
               ระหว่ำงผู้ชำยและผู้หญิง โดยแต่ละส่วนมีข้อเสียเปรียบของผลประโยชน์ที่แตกต่ำงซึ่งถูกก�ำหนดตำมอำยุเกษียณ ECHR
               พบว่ำโดยหลักของกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศอำจมีเหตุผลสมควรได้ในกรณีที่มี“เหตุผลที่มีน�้ำหนักเพียงพอ” ทั้งนี้
               ศำลจะพิจำรณำให้รัฐมีขอบเขตกำรใช้ดุลพินิจโดยกว้ำงส�ำหรับมำตรกำรที่ใช้ในทำงเศรษฐกิจหรือกลยุทธ์ทำงสังคม

               (a wide margin is usually allowed to the State under the [ECHR] when it comes to general measures
               of economic or social strategy)



                     อย่ำงไรก็ตำม แม้ว่ำศำลจะยอมรับถึงกำรมีขอบเขตในกำรใช้ดุลพินิจของรัฐ แต่ส�ำหรับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ
               บำงอย่ำงเช่น เชื้อชำติ แล้ว ศำลให้น�้ำหนักกับกำรคุ้มครองผู้ถูกเลือกปฏิบัติ ดังจะเห็นได้จำก ในคดี Andrejeva v.
                         262
               Latvia case  ผู้ยื่นค�ำร้องเคยเป็นเมืองของสหภำพโซเวียตเก่ำแต่ได้รับสิทธิในกำรพ�ำนักอยู่อย่ำงถำวรในประเทศลัตเวีย
               ตำมกฎหมำยภำยใน ได้จัดให้ผู้ยื่นค�ำร้องเป็นผู้ที่ท�ำงำนอยู่นอกประเทศลัตเวียในช่วงก่อนกำรประกำศอิสรภำพ (แม้ว่ำ
               จะท�ำต�ำแหน่งเดิมซึ่งอยู่ภำยในอำณำเขตลัตเวียก่อนและหลังกำรเป็นอิสรภำพ) และในล�ำดับต่อมำกำรค�ำนวนเงินหลัง

               เกษียณของผู้ร้องเป็นกำรค�ำนวนตำมพื้นฐำนของระยะเวลำที่ใช้ในกำรท�ำงำนต�ำแหน่งเดียวกันหลังกำรเป็นอิสรภำพ
               ทั้งนี้ ประชำชนชำวลัตเวียซึ่งท�ำงำนในต�ำแหน่งเดียวกันมีสิทธิในกำรได้รับเงินหลังเกษียณตำมระยะเวลำทั้งหมดของ
               กำรให้บริกำรรวมถึงกำรท�ำงำนในช่วงเวลำก่อนกำรเป็นอิสรภำพซึ่งแตกต่ำงไปจำกกำรค�ำนวนให้กับผู้ร้อง ทั้งนี้ ECHR

               พบว่ำผู้ยื่นค�ำร้องอยู่ในสถำนกำรณ์ที่เทียบเท่ำกับกำรเป็นประชำชนชำวลัตเวียเนื่องจำกภำยใต้กฎหมำยแห่งชำตินั้น
               เธอได้รับอนุญำตให้พ�ำนักอยู่ในลัตเวียอย่ำงถำวรในฐำนะของพลเมืองต่ำงเชื้อชำติ นอกจำกนั้นเธอยังเป็นผู้ที่มีส่วนร่วม

               ในกำรจ่ำยภำษีซึ่งเธอต้องจ่ำยในอัตรำเดียวกับประชำชนชำวลัตเวีย ศำลอธิบำยว่ำ ควำมจ�ำเป็นที่จะต้องมีกำรปฏิบัติ
               อย่ำงแตกต่ำงบนพื้นฐำนของเชื้อชำตินั้นจ�ำเป็นที่จะต้องมีเหตุผลอันส�ำคัญอย่ำงยิ่ง (very weighty reasons) แต่ในกรณี
               นี้ไม่สำมำรถให้กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันได้ แม้ว่ำจะยอมรับว่ำรัฐมี “ขอบเขตแห่งกำรใช้ดุลพินิจ” ในส่วนของนโยบำยกำร

               คลังและสังคม แต่ในสถำนกำรณ์ของผู้ยื่นค�ำร้องนั้นถือได้ว่ำเธออยู่ในสถำนภำพที่ใกล้เคียงอย่ำงยิ่งในควำมเป็นพลเมือง
               ของลัตเวีย ดังนั้นจึงถือว่ำกำรกระท�ำดังกล่ำวเป็นกำรเลือกปฏิบัติ


                     ๔.๗.๑ หลัก “Margin of Appreciation” ในกรณีการเลือกปฏิบัติกับผู้ติดเชื้อ HIV
                              ตำมหลัก “Margin of appreciation” ดังกล่ำวมำแล้ว จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยหรือนโยบำยของรัฐ
               ซึ่งมีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติ อำจใช้บังคับได้โดยไม่ขัดต่อหลักกำรตำมอนุสัญญำแห่งยุโรปว่ำด้วยกำรคุ้มครองสิทธิ

               มนุษยชนและเสรีภำพขั้นพื้นฐำน ทั้งนี้ หำกกรณีนั้น ขอบเขตกำรใช้ดุลพินิจของรัฐในกำรตรำกฎหมำยที่มีลักษณะเลือก
               ปฏิบัติอยู่ภำยใต้ขอบเขตที่กว้ำง โดยขอบเขตที่กว้ำงนี้จะต้องพิจำรณำปัจจัยส�ำคัญ คือ ประโยชน์หรือสิ่งที่กฎหมำยนั้น

               มุ่งคุ้มครองมีน�้ำหนักเพียงพอหรือไม่ โดยพิจำรณำประกอบกับลักษณะและสภำพของบุคคลที่ถูกเลือกปฏิบัติ ต่อไปนี้
               จะได้พิจำรณำคดีตัวอย่ำงที่ศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปพิจำรณำกฎหมำยภำยในของรัฐที่เลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อ HIV
               ในบริบทของกำรปรับใช้หลักกำร “Margin of appreciation”






                      261   From “ECHR, Stec and Others v. UK [GC]” (Nos. 65731/01 and 65900/01), 12 April 2006

                      262   From “ECHR, Andrejeva v. Latvia [GC]” (No. 55707/00), 18 February 2009




                                                               335
   331   332   333   334   335   336   337   338   339   340   341