Page 337 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 337
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
263
คดี Kiyutin v. Russia คดีนี้มีข้อเท็จจริงสรุปได้ว่ำ Kiyutin เป็นคนสัญชำติ Uzbek และอยู่อำศัยใน
รัสเซีย ได้ยื่นค�ำขอมีถิ่นที่อยู่ในรัสเซียแต่ถูกปฏิเสธ เนื่องจำกเขำเป็นคนต่ำงชำติที่เป็นผู้ติดเชื้อ HIV ดังนั้น Kiyutin ฟ้อง
ต่อศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรป โดยอ้ำงว่ำรัสเซียกระท�ำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนตำมสนธิสัญญำสิทธิมนุษยชนยุโรป
ศำลพิจำรณำประเด็นตำมมำตรำที่ ๑๔ และ ๘
ค�ำตัดสิน: ศำลได้อ้ำงค�ำพิพำกษำในคดี Alajos Kiss v. Humgary ที่เกี่ยวข้องกับกำรจ�ำกัดสิทธิในกำร
ออกเสียงเลือกตั้งของประชำชนที่เป็นผู้มีจิตบกพร่อง ศำลตัดสินว่ำ “ในกรณีที่ข้อจ�ำกัดสิทธิพื้นฐำนถูกน�ำมำใช้กับกลุ่ม
บุคคลที่มีควำมเปรำะบำงในสังคม ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจำกกำรเลือกปฏิบัติที่ผ่ำนมำในอดีต ดังเช่นกลุ่มผู้มีจิตบกพร่อง
(Mentally Disabled) ดังนี้ “Margin of Appreciation” ของรัฐจะมีขอบเขตที่แคบอย่ำงยิ่งและจะต้องมีน�้ำหนักเหตุผล
ที่มำกเพียงพอในกำรจ�ำกัดสิทธิเช่นนั้น” ทั้งนี้ เนื่องจำกบุคคลในกลุ่มดังกล่ำวต้องเผชิญกับอคติซึ่งส่งผลกระทบตำมมำ
264
อย่ำงยำวนำนในประวัติศำสตร์ จนกระทั่งส่งผลให้เกิดกำรกีดกันบุคคลดังกล่ำวจำกสังคม....” เมื่อเปรียบเทียบคดีนี้
กับคดีดังกล่ำวแล้ว ศำลจึงตัดสินว่ำ บุคคลที่ติดเชื้อ HIV จัดอยู่ในกลุ่มเปรำะบำง (Vulnerable Group) ด้วยเช่นกัน
ดังนั้น รัฐมี “Margin of Appreciation” ในขอบเขตที่แคบ ศำลอธิบำยว่ำ “นับแต่กำรแพร่ระบำดในวงกว้ำงของ HIV
ในช่วงปี ๑๙๘๐ ประชำชนผู้ติดเชื้อ HIV ต้องทุกข์ทรมำนกับกำรกีดกันและกำรตีตรำ ผู้อื่นในสังคมเกิดควำมตระหนก
และหวำดหวั่นต่อกำรติดเชื้อและเกรงกลัวผู้ติดเชื้อ นอกจำกนี้ กำรติดเชื้อดังกล่ำวยังถูกน�ำไปเชื่อมโยงกับพฤติกรรม
เช่น กำรร่วมเพศของผู้รักร่วมเพศ ผู้ติดยำเสพติด โสเภณี ซึ่งพฤติกรรมเหล่ำนี้เป็นที่ดูหมิ่นเหยียดหยำมในหลำยสังคม
กำรติดเชื้อยังส่งผลให้คนในสังคมสร้ำงควำมเชื่อมโยงระหว่ำงผู้ติดเชื้อ กับกำรขำดควำมรับผิดชอบและพฤติกรรมที่
ไม่เหมำะสมดังกล่ำว อันก่อให้เกิดรูปแบบของกำรเลือกปฏิบัติอื่น ๆ ตำมมำอีกด้วย เช่น กำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่ง
สีผิว เชื้อชำติ รสนิยมทำงเพศ เป็นต้น แม้ว่ำในปัจจุบันมีกำรพัฒนำวิธีกำรป้องกันและกำรบ�ำบัดผู้ติดเชื้อ แต่กำรตีตรำและ
เลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อยังคงเกิดขึ้นอยู่อย่ำงแพร่หลำย ดังนั้น บุคคลผู้ติดเชื้อ HIV เป็นกลุ่มผู้เปรำะบำงซึ่งมีประวัติศำสตร์
แห่งกำรตีตรำและอคติ รัฐจึงควรมี “Margin of Appreciation” ในขอบเขตที่แคบในกำรเลือกมำตรกำรที่จะใช้กับกลุ่ม
265
ดังกล่ำวส�ำหรับกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่งสถำนะควำมเป็นผู้ติดเชื้อ HIV” ดังนั้น ในกำรพิจำรณำมำตรกำร
ที่รัฐน�ำมำใช้อันส่งผลต่อกำรเลือกปฏิบัติกับผู้อยู่ในกลุ่มเปรำะบำงนี้ (ซึ่งในคดีนี้ก็คือกำรที่รัฐไม่อนุญำตให้ผู้ติดเชื้อ HIV
ขอมีถิ่นที่อยู่) ศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปใช้เกณฑ์พิจำรณำที่ต้องชั่งน�้ำหนักเป็นอย่ำงยิ่ง (Very Weighty Reasons-Test)
และกำรพิจำรณำควำมชอบด้วยกฎหมำยของมำตรกำรดังกล่ำวนั้น จะต้องพิจำรณำด้วยควำมเข้มงวดอย่ำงยิ่ง (Rigorous
Scrutiny)
ดังนั้น ศำลเห็นว่ำมำตรกำรที่รัฐน�ำมำใช้นั้นอยู่บนสมมุติฐำนที่เชื่อมโยงกำรติดเชื้อ HIV กับพฤติกรรม
ที่ไม่เหมำะสม ซึ่งศำลเห็นว่ำไม่มีน�้ำหนักเพียงพอ “...กำรกีดกันผู้ติดเชื้อ HIV จำกกำรเข้ำประเทศหรือกำรขอมีถิ่นที่อยู่
เพื่อปกป้องกำรแพร่กระจำยของเชื้อ HIV นั้น อยู่บนสมมุติฐำนที่ว่ำ บุคคลเหล่ำนั้นมักเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่แสดง
ถึงควำมไม่ปลอดภัย และประชำชนในประเทศไม่สำมำรถป้องกันตนเองได้ ซึ่งสมมุติฐำนดังกล่ำวเป็นกำรเหมำรวม
(Generalization) ซึ่งไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงและไม่ค�ำนึงถึงสถำนกำรณ์ของปัจเจกบุคคลซึ่งมีควำมแตกต่ำงกันไป
263 From “Kiyutin v. Russia”, 10 March 2011, no. 2700/10 (First Section)
264 From “Alajos Kiss v. Humgary” Para 42
265 From “Kiyutin v. Russia” para 64
336