Page 339 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 339
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
เปรียบเทียบได้กับหลัก “ขอบเขตแห่งดุลพินิจ” (Margin of Appreciation) ซึ่งรัฐสำมำรถก�ำหนดกฎหมำยภำยในที่
แตกต่ำงจำกพันธกรณีตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศได้ ภำยใต้เหตุผลควำมจ�ำเป็นบำงประกำรดังกล่ำวมำแล้ว
ในระดับของภำคเอกชนนั้น แม้หลักกำรขอบเขตแห่งดุลพินิจดังที่กล่ำวมำข้ำงต้นอยู่ในบริบทของ
กฎหมำยระหว่ำงประเทศและกำรกระท�ำของรัฐก็ตำม แต่อำจน�ำหลักกำรนี้มำวิเครำะห์ว่ำกำรปฏิบัติของภำคเอกชนนั้น
เป็นกำรเลือกปฏิบัติที่มีเหตุผลสมควรหรือไม่ ซึ่งหำกมีเหตุผลสมควรรองรับ ก็จะท�ำให้กำรปฏิบัตินั้นเป็นเพียงกำรปฏิบัติที่
แตกต่ำงกันโดยไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ขัดต่อกฎหมำยภำยใน เช่น กรณีสถำนที่บำงแห่งปฏิเสธไม่ให้บริกำรแก่ผู้ติดเชื้อ
เอชไอวี จะเห็นได้ว่ำ หำกสถำนที่ดังกล่ำวมีเหตุผลควำมจ�ำเป็นเพื่อป้องกันกำรติดเชื้อแก่ลูกค้ำรำยอื่น กำรปฏิบัติดังกล่ำว
ก็อำจไม่ใช่กำรเลือกปฏิบัติ แต่หำกสถำนที่ดังกล่ำวไม่สำมำรถแสดงเหตุผลถึงอันตรำยต่อลูกค้ำรำยอื่นจำกกำรให้บริกำร
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีแล้ว กำรกระท�ำดังกล่ำวก็อำจเป็นกำรเลือกปฏิบัติ หรือในกรณีของผู้ประกอบธุรกิจประกันภัยที่สรุป
เหมำรวมว่ำ หำกผู้ขอเอำประกันมีชื่อในทะเบียนบ้ำนของบำงจังหวัด เป็นผู้มีควำมเสี่ยงติดเชื้อเอชไอวีจึงต้องให้ไป
ตรวจเชื้อก่อนรับประกัน กำรปฏิบัติเช่นนี้มีประเด็นว่ำเป็นกำรเหมำรวมโดยมีน�้ำหนักที่จ�ำเป็นอย่ำงยิ่งหรือไม่
อย่ำงไรก็ตำม หำกกฎหมำยจ�ำกัดสิทธิผู้ติดเชื้อบำงกรณี ซึ่งมีควำมรุนแรงและมีหลักฐำนทำงวิทยำศำสตร์
ชี้ให้เห็นว่ำอำจแพร่เชื้อได้โดยง่ำยและไม่อำจป้องกันได้ กรณีเช่นนั้นกฎหมำยที่จ�ำกัดสิทธิของผู้ติดเชื้อดังกล่ำวอำจถือ
ได้ว่ำมีน�้ำหนักเพียงพอ เมื่อชั่งน�้ำหนักกับประโยชน์ซึ่งก็คือควำมปลอดภัยของประชำชนอื่น ๆ และอำจใช้บังคับได้โดย
ไม่ถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติ เช่นเดียวกับกรณีกำรปฏิบัติของภำคเอกชนต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี หำกมีเหตุผลอันมีน�้ำหนัก
เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้อื่น กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงก็อำจไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ
๔.๘ การเลือกปฏิบัติในกรณีบริการภาครัฐ
๔.๘.๑ การระบุข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาในบัตรประชาชน
มีประเด็นปัญหำว่ำ ประชำชนบำงรำยอำจไม่ต้องกำรระบุศำสนำในบัตรประชำชน หรือต้องกำรระบุ
ศำสนำอื่นที่มิใช่ศำสนำกระแสหลัก กฎหมำยและแนวปฏิบัติของหน่วยงำนรัฐจะเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งศำสนำ
หรือไม่
เมื่อพิจำรณำกฎหมำยที่เกี่ยวข้องแล้วพบว่ำ กฎหมำยฉบับหลักที่เกี่ยวข้อง คือ พระรำชบัญญัติบัตร
ประจ�ำตัวประชำชน พ.ศ. ๒๕๒๖ มำตรำ ๗ ก�ำหนดว่ำ “ขนำด สี และลักษณะของบัตร ตลอดจนรำยกำรในบัตร และ
รำยละเอียดของรำยกำรในบัตร ให้เป็นไปตำมที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง แต่ในบัตรอย่ำงน้อยต้องมีรำยกำร ดังต่อไปนี้ ....
(๑) ชื่อตัว ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ตำมทะเบียนบ้ำน รูปถ่ำยและเลขประจ�ำตัวของผู้ถือบัตร และจะมีรำยกำรศำสนำ
หรือนิกำยของศำสนำ หรือลัทธินิยมในทำงศำสนำซึ่งผู้ถือบัตรนับถืออยู่ด้วยหรือไม่ก็ได้” ต่อมำ กระทรวงมหำดไทย
ประกำศกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๓ พ.ศ. ๒๕๕๔ (โดยออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติบัตรประจ�ำตัวประชำชน พ.ศ.
๒๕๒๖) ว่ำด้วยเรื่องรูปแบบบัตรประจ�ำตัวประชำชนแบบใหม่ที่ถูกต้อง (ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เมื่อวันที่ ๒๑
ก.พ. ๒๕๕๔) ก�ำหนดรำยละเอียดที่ต้องมีในบัตรไว้ในข้อ ๕ ว่ำ
338