Page 334 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 334
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
254
มำตรกำรที่พิพำท มำประกอบด้วย โดยศำลอธิบำยว่ำ กำรที่รัฐหลุดพ้นจำกควำมรับผิดชอบนั้นเป็นปัญหำที่ละเอียด
อ่อนที่จะต้องพิจำรณำหลำยปัจจัยเพื่อกำรสร้ำงกำรสมดุลระหว่ำงประโยชน์สำธำรณะที่รัฐต้องกำรปกป้องกับพันธกรณี
255
ตำมสนธิสัญญำ นอกจำกนั้น ศำลอธิบำยว่ำในกำรพิจำรณำมำตรกำรที่พิพำทนั้นจะต้องค�ำนึงถึงลักษณะทั้งทำง
กฎหมำยและข้อเท็จจริงซึ่งเกี่ยวข้องกับชีวิตและสังคมในรัฐนั้น แต่ทั้งนี้ศำลซึ่งเป็นกลไกระหว่ำงประเทศไม่อำจมีบทบำท
256
ในลักษณะเดียวกับองค์กรภำยในรัฐนั้น
257
ในคดี Handyside v. United Kingdom มีประเด็นเกี่ยวข้องกับกำรจัดพิมพ์หนังสือเรียนซึ่งมีเนื้อหำเกี่ยวกับ
พฤติกรรมทำงเพศอย่ำงชัดเจน หนังสือดังกล่ำวสำมำรถเผยแพร่ในประเทศภำคีสนธิสัญญำ ECHR หลำยประเทศ อย่ำงไร
ก็ตำมในอังกฤษมีปัญหำว่ำผู้พิมพ์หนังสือดังกล่ำวถูกตัดสินว่ำมีควำมผิดตำมกฎหมำยภำยในเกี่ยวกับสื่อลำมก คดีนี้จึงมำ
สู่กำรพิจำรณำศำลยุโรปว่ำรัฐบำลอังกฤษฝ่ำฝืนหลักเสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็น (Freedom of expression) หรือ
ไม่ โดยรัฐบำลอังกฤษอ้ำงว่ำกฎหมำยดังกล่ำวเป็นไปเพื่อปกป้องศีลธรรมอันดีของประชำชน จะเห็นได้ว่ำกรณีนี้มีควำม
ขัดแย้งกันระหว่ำงกำรปฏิบัติตำมหลักกำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตำมสนธิสัญญำกับกำรคุ้มครองประโยชน์ด้ำนศีลธรรม
อันดีที่รัฐมุ่งประสงค์ ในคดีนี้ศำลน�ำหลัก Margin of Appreciation มำใช้โดยตัดสินว่ำอังกฤษไม่ละเมิดต่อสนธิสัญญำ
โดยศำลให้เหตุผลว่ำ “เป็นไปได้ยำกที่กฎหมำยภำยในของรัฐภำคีจะมีลักษณะเป็นเอกภำพกันในแนวคิดด้ำนศีลธรรม
แนวคิดและมุมมองดังกล่ำวแตกต่ำงกันไปตำมกฎหมำยภำยใน ดังนั้น รัฐภำคีจึงอยู่ในฐำนะที่ดีกว่ำศำลระดับระหว่ำง
ประเทศในกำรพิจำรณำประเด็นเชิงเนื้อหำ (Content) ที่พิพำท รวมทั้งประเด็นควำมจ�ำเป็น (Necessity)
จะเห็นได้ว่ำ ภำยใต้หลัก Margin of Appreciation นั้น ศำลได้จ�ำแนกควำมแตกต่ำงระหว่ำงบทบำทของศำล
ในฐำนะกลไกตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศในกำรตรวจสอบกำรด�ำเนินกำรของรัฐให้สอดคล้องกับพันธกรณีตำมสนธิ
สัญญำ กับบทบำทขององค์กรตำมกฎหมำยภำยในของรัฐในกำรใช้ดุลพินิจ (Discretion) ดังนั้น ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
กับกำรใช้ดุลพินิจของรัฐ เช่น ระดับศีลธรรมอันดี ควำมจ�ำเป็น เหตุฉุกเฉินนั้นอยู่ในขอบอ�ำนำจ (Margin) ของรัฐภำคี
ที่สำมำรถพิจำรณำตำมควำมเหมำะสมและไม่ขัดต่อพันธกรณีระหว่ำงประเทศ
ส�ำหรับคดีที่ศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปน�ำหลักกำร Margin of appreciation มำปรับใช้ ในบริบทของ
258
กำรพิจำรณำคดีที่มีประเด็นเกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติ เช่น
259
คดี Sommerfeld v. Germany ข้อเท็จจริงในคดีนี้มีอยู่ว่ำ ผู้ร้องเป็นบิดำของบุตรซึ่งเป็นบุตรนอกสมรส
ผู้ร้องอยู่กับมำรดำของเด็กจนกระทั่งแยกทำงกัน มำรดำของเด็กซึ่งสมรสกับชำยอีกคนหนึ่ง ได้ห้ำมมิให้ผู้ร้อง
พบกับบุตร ผู้ร้องจึงไปฟ้องคดีต่อศำลเยอรมันเพื่อขอให้รับรองสิทธิในกำรพบและติดต่อกับบุตร ศำลเยอรมัน
พิจำรณำแล้วปฏิเสธโดยเหตุส�ำคัญแห่งกำรปฏิเสธ คือ กำรที่ศำลฟังพยำนหลักฐำนจำกค�ำให้กำรของเด็ก
ว่ำ ไม่ต้องกำรพบกับผู้ร้องอีก
254 From “Lawless v. Ireland” No. 332/57, ECHR 1961 A3 (N.B. verbatim record of the hearing on 8 April)
255 Ibid
256 Case Relating to Certain Aspects of the Laws on the Use of Languages in Education in Belgium (“Belgian
Linguistic Case”) (No. 2), no. 1474/62, 1677/62, 1691/62, 1769/63, 1994/63, 2126/64, §10, ECHR 1968 A6
257 From “Handyside v. United Kingdom” No. 5493/72, §48, ECHR 1976 A24
258 Article 14, European Convention on Human Rights
259 From “Sommerfeld v. Germany” (Application No. 31871/96, 2003)
333