Page 335 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 335
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
ผู้ร้องจึงน�ำคดีขึ้นศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปอ้ำงว่ำกำรที่ศำลเยอรมันตัดสินเช่นนั้นเป็นกำรล่วงละเมิดต่อสิทธิ
ที่ได้รับกำรรับรองตำมอนุสัญญำแห่งยุโรปว่ำด้วยกำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภำพขั้นพื้นฐำน กล่ำวคือ สิทธิ
ในชิวิตครอบครัว (มำตรำ ๘) และ ยังเป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ฝ่ำฝืนมำตรำ ๑๔
ศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ กรณีนี้ศำลเยอรมันไม่ได้ละเมิดสิทธิในชีวิตครอบครัวตำมมำตรำ ๘
เนื่องจำกองค์กรของรัฐมีสิทธิที่จะสร้ำงควำมสมดุลระหว่ำงประโยชน์ของเด็กกับผู้ปกครอง โดยในคดีนี้เห็นว่ำศำลเยอรมัน
ได้ใช้เหตุผลที่เหมำะสมในกำรปฏิเสธมิให้พบกับบุตร นั่นคือควำมประสงค์อย่ำงชัดแจ้งของบุตร รวมทั้งเหตุผลเกี่ยวกับ
ควำมเสี่ยงของผลกระทบต่ออำรมณ์และสภำพจิตใจของเด็กหำกมีกำรบังคับให้เด็กต้องกระท�ำกำรที่ฝืนใจ
ส�ำหรับประเด็นกำรฝ่ำฝืนมำตรำ ๑๔ นั้น ศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปเห็นว่ำ กรณีสิทธิของบิดำในกำรพบบุตร นั้น
กฎหมำยเยอรมันที่เกี่ยวข้องได้วำงหลักเกณฑ์ที่แตกต่ำงกัน ระหว่ำงบิดำที่สมรสกับมำรดำของเด็กและหย่ำร้ำง กับบิดำ
ที่ไม่ได้สมรสกับมำรดำของเด็ก กล่ำวคือ บิดำที่สมรสและหย่ำร้ำงมีสิทธิพบและติดต่อเด็กซึ่งอำจถูกจ�ำกัดในกรณีจ�ำเป็น
เพื่อประโยชน์ของเด็ก แต่บิดำที่ไม่ได้สมรสกับมำรดำของเด็กนั้น จะมีสิทธิพบและติดต่อเด็กได้ต่อเมื่อแม่ของเด็กตกลง
ยินยอมหรือได้รับอนุญำตจำกศำลว่ำกำรพบเด็กจะเป็นประโยชน์แก่เด็ก ดังนี้ ศำลให้น�้ำหนักกับกำรตัดสินใจของแม่เด็ก
และก�ำหนดภำระพิเศษส�ำหรับบิดำในกำรพบและติดต่อบุตรนอกสมรสมำกกว่ำบิดำที่สมรสและหย่ำร้ำงกับมำรดำของ
260
เด็ก กฎหมำยของเยอรมัน จึงเป็นกำรเลือกปฏิบัติระหว่ำงบิดำนอกสมรสกับบิดำที่สมรสกับมำรดำของเด็ก อย่ำงไร
ก็ตำม ศำลได้อธิบำยว่ำ กำรเลือกปฏิบัติของกฎหมำยดังกล่ำวอำจท�ำได้หำกมีเหตุผลที่มีน�้ำหนักเพียงพอ (Very weighty
reasons) ซึ่งศำลไม่พบเหตุผลดังกล่ำวในคดีนี้
จะเห็นได้ว่ำ หลักกำร “Margin of Appreciation” ถูกน�ำมำใช้ในกำรตัดสินคดี กล่ำวคือ กำรที่ศำลเยอรมัน
ปฏิเสธสิทธิของบิดำในกำรพบเด็ก โดยหลักแล้วเป็นกำรละเมิดสิทธิในครอบครัว แต่ศำลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปพิจำรณำ
ถึงเหตุผลของกำรปฏิเสธดังกล่ำวแล้วเห็นว่ำมีเหตุอันสมควร ท�ำให้ไม่เป็นกำรละเมิดต่อมำตรำ ๘ นอกจำกนี้ ในกำร
พิจำรณำประเด็นมำตรำ ๑๔ จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยมีกำรวำงเกณฑ์ที่แตกต่ำงกันส�ำหรับบิดำที่ไม่สมรสกับที่สมรสกับ
มำรดำของเด็ก แต่กรณีนี้ศำลยังไม่เห็นถึงเหตุผลจ�ำเป็นของควำมแตกต่ำงกัน กล่ำวคือ หำกกฎหมำยดังกล่ำวมีเหตุผล
ที่แสดงให้เห็นว่ำเกณฑ์อันแตกต่ำงนั้นมีขึ้นเพื่อประโยชน์ของเด็กอย่ำงไรแล้ว ก็อำจเป็น “เหตุผลที่มีน�้ำหนักเพียงพอ”
(Very weighty reasons) อันท�ำให้เข้ำข้อยกเว้นตำมหลัก “Margin of Appreciation” และไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ
ปัจจัยส�ำคัญที่ศำลน�ำมำก�ำหนดขอบเขตแห่งกำรใช้ดุลพินิจก็คือ “เหตุผลที่มีน�้ำหนักเพียงพอ” (Very weighty
reasons) ซึ่งหำกเป็นกรณีที่เกี่ยวกับมำตรกำรของรัฐอันมุ่งใช้กับกลยุทธ์ทำงเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศ ศำลจะ
ให้ขอบเขตแห่งกำรใช้ดุลพินิจที่กว้ำง นั่นคือกฎเกณฑ์หรือมำตรกำรของรัฐที่พิพำทว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัตินั้นจะไม่ขัด
ต่อกฎหมำยสหภำพยุโรป
260 กฎหมำยแพ่งเยอรมัน (German Civil Code) มำตรำ 1634 § 1 เกี่ยวกับผู้ปกครองเด็กที่เกิดจำกกำรสมรส regarding
(born in wedlock) และ มำตรำ 1711 § 2 เกี่ยวกับพ่อของเด็กที่เกิดนอกสมรส (born out of wedlock)
334