Page 331 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 331
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
247
ของคนพิกำร รวมทั้งให้เงินอุดหนุนและควำมช่วยเหลือเป็นพิเศษจำกรัฐแก่สถำนศึกษำทั้งของรัฐและเอกชนที่จัดกำร
248
ศึกษำส�ำหรับคนพิกำร จะเห็นได้ว่ำ มำตรกำรตำมกฎหมำยฉบับนี้ปฏิบัติต่อคนพิกำรในมิติของกำรศึกษำแตกต่ำงจำก
บุคคลอื่น แต่กำรปฏิบัติแตกต่ำงกันนี้เป็นไปเพื่อท�ำให้คนพิกำรได้มีโอกำสในกำรศึกษำเท่ำเทียมกับบุคคลทั่วไป จึงจัด
เป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative Action) ได้เช่นกัน
หำกเปรียบเทียบในมิติกำรศึกษำกับกฎหมำยสหรัฐอเมริกำที่น�ำมำวิเครำะห์ข้ำงต้นพบว่ำ มำตรกำรที่
ให้สิทธิพิเศษ (Privilege) ส�ำหรับบุคคลบำงกลุ่มอำจจัดเป็นมำตรกำรพิเศษซึ่งเป็นข้อยกเว้นจำกกำรห้ำมเลือกปฏิบัติได้
แต่ต้องอยู่ภำยใต้ขอบเขตที่ศำลก�ำหนดไว้ หำกเปรียบเทียบกับกรณีของไทย พบว่ำ หลักกำรตำมกฎหมำยเฉพำะที่เกี่ยว
กับกำรศึกษำข้ำงต้นก็อำจจัดเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกหรือมำตรกำรพิเศษได้เช่นกัน นอกจำกนี้ คณะกรรมกำร
สิทธิมนุษยชนแห่งชำติเคยพิจำรณำว่ำ “..กำรก�ำหนดหลักเกณฑ์กำรรับนักเรียนสังกัดส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำร
ศึกษำขั้นพื้นฐำนที่ก�ำหนดให้รับนักเรียนในเขตพื้นที่ไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๕๐ ไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติและไม่กระทบ
ต่อสิทธิของเด็กที่เข้ำศึกษำ ซึ่งกำรก�ำหนดรับนักเรียนโดยอำศัยเกณฑ์ทะเบียนรำษฎรเป็นหลักนั้นเป็นกำรรับรอง
สิทธิ ไม่เป็นกำรจ�ำกัดสิทธิจึงไม่มีกำรเลือกปฏิบัติแต่อย่ำงใด ...” (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๙๒๗-๙๒๘/๒๕๕๘)
จะเห็นได้ว่ำ หำกพิจำรณำโดยทั่วไปแล้ว มำตรกำรดังกล่ำวเป็นกำรให้สิทธิพิเศษแก่นักเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่ จึงอำจ
มองว่ำเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุ “ถิ่นที่อยู่” อย่ำงไรก็ตำม มีประเด็นว่ำ เหตุเกี่ยวกับถิ่นที่อยู่ในควำมหมำย
เชิงกำยภำพหรือพื้นที่เช่นนี้ จะถือเป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติในลักษณะเดียวกับ “เชื้อชำติ ถิ่นก�ำเนิด หรือสังคมดั้งเดิม”
หรือไม่ นอกจำกนี้ อำจพิจำรณำได้ว่ำมำตรกำรดังกล่ำวเป็นไปเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนในพื้นที่ได้มีโอกำสเรียนใกล้ที่อยู่
อำศัย และเป็นประโยชน์อย่ำงหนึ่งซึ่งรัฐพึงคุ้มครองปกป้อง จึงเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกที่ไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ
ในกรณีกฎหมำยเฉพำะเกี่ยวกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติกรณี “ควำมพิกำร” นั้นพบว่ำ พระรำชบัญญัติส่ง
เสริมและพัฒนำคุณภำพชีวิตคนพิกำร พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นกฎหมำยที่รับรองสิทธิในกำรเข้ำถึงและใช้สิ่งอ�ำนวยควำมสะดวก
สำธำรณะ สวัสดิกำรจำกรัฐ จึงมีลักษณะเป็นกฎหมำยที่ก�ำหนดมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกให้กับคนพิกำร นอกจำกนี้
ระเบียบของคณะกรรมกำรที่ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติดังกล่ำวยังได้วำงหลักเกี่ยวกับ “กำรช่วยเหลือที่สมเหตุ
249
สมผล” ไว้ว่ำหมำยถึง “กำรเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงที่จ�ำเป็นและเหมำะสมโดยไม่ก่อให้เกิดภำระอันเกินควรหรือ
เกินสัดส่วน เฉพำะในกรณีที่จ�ำเป็นเพื่อประกันว่ำคนพิกำรได้อุปโภคและใช้สิทธิมนุษยชนและเสรีภำพขั้นพื้นฐำนทั้งปวงที่
เท่ำเทียมกับบุคคลอื่น” จะเห็นได้ว่ำ กำรช่วยเหลือที่สมเหตุสมผลนี้ สอดคล้องกับ “Reasonalbe Accommodation”
ที่กฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศก�ำหนดให้รัฐมีพันธกรณีต้องจัดให้มีกำรช่วยเหลือดังกล่ำว
ในกรณีผู้สูงอำยุนั้น ประเทศไทยก็มีกฎหมำยเฉพำะ ได้แก่ พระรำชบัญญัติผู้สูงอำยุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่ง
ก�ำหนดรับรองสิทธิในด้ำนต่ำง ๆ ของผู้สูงอำยุ จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยฉบับนี้อำจจัดเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกโดย
ปฏิบัติต่อผู้สูงอำยุเป็นพิเศษ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดควำมเท่ำเทียมกับบุคคลอื่น ๆ
247 พระรำชบัญญัติกำรจัดกำรศึกษำส�ำหรับคนพิกำร พ.ศ. ๒๕๕๑ มำตรำ ๘
248 พระรำชบัญญัติกำรจัดกำรศึกษำส�ำหรับคนพิกำร พ.ศ. ๒๕๕๑ มำตรำ ๗
249 ข้อ ๔. ระเบียบคณะกรรมกำรส่งเสริมและพัฒนำคุณภำพชีวิตคนพิกำรแห่งชำติว่ำด้วยหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไข
ในกำรร้องขอ กำรรวบรวมพยำนหลักฐำนกำรไกล่เกลี่ย กำรวินิจฉัย และค่ำตอบแทนของคณะอนุกรรมกำรหรือผู้ไกล่เกลี่ยเกี่ยวกับกำร
กระท�ำในลักษณะที่เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิกำร พ.ศ. ๒๕๕๖
330