Page 330 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 330
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
ดังกล่ำวนั้น ยังมีมำตรกำรอื่นที่จ�ำกัดสิทธิน้อยกว่ำ (Less Restrictive Program) หรือไม่ หำกยังมีมำตรกำรอื่นแล้ว ก็
จะต้องใช้มำตรกำรอื่นก่อน ตัวอย่ำงเช่น กำรจ�ำกัดโควตำรับนักศึกษำบำงเชื้อชำติด้วยจ�ำนวนที่แน่นอนลงไป ศำลในคดี
Regents of the University of California v. Bakke เห็นว่ำยังมีมำตรกำรอื่นนอกจำกมำตรกำรเช่นนี้ ซึ่งอำจน�ำมำ
243
ใช้เพื่อบรรลุถึงกำรส่งเสริมควำมหลำกหลำยทำงเชื้อชำติของนักศึกษำ แต่ในคดี Grutter v. Bollinger ศำลเห็นว่ำ
มำตรกำรที่น�ำเอำปัจจัยด้ำนเชื้อชำติมำประกอบกำรพิจำรณำรับนักศึกษำนั้นไม่ขัดต่อกฎหมำย เนื่องจำกไม่ใช่กรณีที่
ยังมีมำตรกำรอื่นที่จ�ำกัดสิทธิน้อยกว่ำ
๔.๖.๓ วิเคราะห์เปรียบเทียบกับกฎหมายไทย
หำกพิจำรณำตำมกฎหมำยไทย ดังที่ได้กล่ำวมำแล้วจะเห็นได้ว่ำ ตำมรัฐธรรมนูญทั้งฉบับปี ๒๕๔๐ และ
๒๕๕๐ ได้วำงหลักเกี่ยวกับมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกไว้ในมำตรำ ๓๐ ที่ว่ำ “มำตรกำรที่รัฐก�ำหนดขึ้นเพื่อขจัด
อุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสำมำรถใช้สิทธิและเสรีภำพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ย่อมไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดย
ไม่เป็นธรรมตำมวรรคสำม” ทั้งนี้ เนื่องจำกมำตรกำรดังกล่ำวแม้ว่ำส่งผลเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน แต่มุ่งหมำยเพื่อ
บรรลุหลักกำรส�ำคัญ คือ ควำมเท่ำเทียมกัน (Equality) จึงเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงซึ่งไม่ขัดต่อหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ
ส�ำหรับในมิติของกำรศึกษำนั้น พบว่ำมีกฎหมำยไทยหลำยฉบับซึ่งมีหลักกำรในลักษณะของมำตรกำร
ยืนยันสิทธิเชิงบวก เช่น พระรำชบัญญัติกำรศึกษำภำคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ วำงหลักให้กระทรวงศึกษำธิกำร คณะกรรมกำร
เขตพื้นที่กำรศึกษำ องค์กรส่วนปกครองท้องถิ่น และสถำนศึกษำ จัดกำรศึกษำเป็นพิเศษส�ำหรับเด็กที่มีควำมบกพร่อง
ทำงร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม กำรสื่อสำร และกำรเรียนรู้ หรือมีร่ำงกำยพิกำร หรือทุพพลภำพ หรือ
เด็กซึ่งไม่สำมำรถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกำส หรือเด็กที่มีควำมสำมำรถพิเศษให้ได้รับกำรศึกษำภำค
244
บังคับด้วยรูปแบบและวิธีกำรที่เหมำะสม รวมทั้งกำรได้รับสิ่งอ�ำนวยควำมสะดวก จะเห็นได้ว่ำ พระรำชบัญญัติกำร
ศึกษำภำคบังคับก�ำหนดหลักกำรเพื่อท�ำให้บุคคลได้มีโอกำสเข้ำรับกำรศึกษำ ให้สอดคล้องกับพระรำชบัญญัติกำรศึกษำ
แห่งชำติซึ่งก�ำหนดให้มีกำรศึกษำภำคบังคับไว้ ดังนั้นพระรำชบัญญัติกำรศึกษำภำคบังคับจึงเป็นกฎหมำยที่มุ่งส่งเสริม
ให้เกิดควำมเท่ำเทียมกันและควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ
ส�ำหรับกำรที่พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ และพระรำชบัญญัติกำรศึกษำภำคบังคับ ก�ำหนดหลัก
245
กำรให้จัดกำรศึกษำส�ำหรับบุคคลบำงกลุ่มเป็นพิเศษ มีลักษณะเป็นกำรให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลบำงกลุ่ม ซึ่งโดยหลัก
แล้วเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน อย่ำงไรก็ตำม กำรจัดกำรศึกษำเป็นพิเศษนี้อำจเทียบได้กับมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิง
บวก (Affirmative Action) เพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะพิเศษดังกล่ำวได้มีโอกำสเข้ำถึงกำรศึกษำที่เท่ำเทียมกับบุคคลทั่วไป
นอกจำกกฎหมำยเกี่ยวกับกำรศึกษำทั้งสองฉบับดังกล่ำว ยังมีกฎหมำยเฉพำะกรณีกำรศึกษำส�ำหรับคน
พิกำร คือ พระรำชบัญญัติกำรจัดกำรศึกษำส�ำหรับคนพิกำร พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งวำงหลักรับรองสิทธิในกำรศึกษำของคน
246
พิกำร โดย ให้สถำนศึกษำในทุกสังกัดจัดท�ำแผนกำรศึกษำเฉพำะบุคคลให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรจ�ำเป็นพิเศษ
243
lbid /-
244
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ มำตรำ ๑๒
245
พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มำตรำ ๑๐ วรรคสอง และวรรคสำม และพระรำชบัญญัติกำรศึกษำภำค
บังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ มำตรำ ๑๒ ดังที่ได้ชี้ให้เห็นแล้วในบทที่ ๓
246
พระรำชบัญญัติกำรจัดกำรศึกษำส�ำหรับคนพิกำร พ.ศ. ๒๕๕๑ มำตรำ ๕
329