Page 329 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 329
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
อย่ำงไรก็ตำม นโยบำยก�ำหนดโควตำจ�ำนวนหนึ่งให้ชนกลุ่มน้อย เป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อโจทก์ เนื่องจำก
ยังมีมำตรกำรอื่นที่จ�ำกัดสิทธิน้อยกว่ำ (Less Restrictive Program) อันสำมำรถน�ำมำปรับใช้ เพื่อบรรลุซึ่งวัตถุประสงค์
อันประกอบด้วยผลประโยชน์ส�ำคัญดังกล่ำว เช่น กำรน�ำปัจจัยด้ำนเชื้อชำติ สีผิว มำเป็นปัจจัยหนึ่งส�ำหรับประกอบกำร
พิจำรณำรับนักศึกษำ (Making Race One of Several Factors in Admission) เช่น บำงมหำวิทยำลัยซึ่งไม่ได้ก�ำหนด
โควตำส�ำหรับชนกลุ่มน้อยด้วยจ�ำนวนที่ก�ำหนดแน่นอน แต่มีควำมพยำยำมในกำรรับนักศึกษำเชื้อชำติ สีผิว ต่ำง ๆ ให้
เกิดควำมหลำกหลำย ซึ่งศำลยกตัวอย่ำงให้เห็นว่ำ นโยบำยของสถำนศึกษำที่น�ำเอำเชื้อชำติ สีผิว มำเป็นเพียงปัจจัย
หนึ่งในหลำย ๆ ปัจจัยส�ำหรับกำรรับนักศึกษำนั้นสำมำรถท�ำได้ เนื่องจำกไม่เป็นกำรจ�ำกัดสิทธิของคนบำงกลุ่มจนเกินไป
ส�ำหรับนโยบำยเช่นนี้ ผู้สมัครผิวขำวอำจเสียเปรียบผู้สมัครผิวสีในแง่เชื้อชำติ สีผิว แต่ยังมีสิทธิแข่งขันด้วยปัจจัยอื่น ๆ
เช่น ควำมสำมำรถในทำงวิชำกำร กำรท�ำกิจกรรม กีฬำ ฯลฯ ดังนั้น นโยบำยดังกล่ำวไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ หรืออีกนัยหนึ่ง
ก็คือ ถือว่ำเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิในเชิงบวกที่ชอบด้วยกฎหมำย
242
หลักกำรดังกล่ำวถูกศำลน�ำมำใช้ในปี ๒๐๐๓ ดังจะเห็นได้จำกคดี Grutter v. Bollinger ซึ่งเป็นกรณี
นักศึกษำผิวขำวผู้มีผลกำรเรียน ๓.๘ ถูกปฏิเสธกำรรับเข้ำศึกษำต่อในมหำวิทยำลัยเนื่องจำกนโยบำยใช้ปัจจัยด้ำนเชื้อชำติ
เป็นปัจจัยหนึ่งส�ำหรับกำรพิจำรณำรับนักศึกษำ นักศึกษำผู้นี้จึงฟ้องว่ำกำรใช้ปัจจัยดังกล่ำวเป็นกำรฝ่ำฝืนหลักควำม
เท่ำเทียมกันที่ก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ ๑๔
ในกำรพิจำรณำว่ำเกณฑ์กำรคัดเลือกของมหำวิทยำลัย Michigan นั้นเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก
(Affirmative Action) ซึ่งท�ำได้โดยไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่นั้น ศำลสูงสุดพิจำรณำโดยใช้หลักกำรดังที่ปรำกฏในคดี
Regents of the University of California v. Bakke กล่ำวคือ ศำลพิจำรณำว่ำเกณฑ์ดังกล่ำวมีวัตถุประสงค์เกี่ยวข้องกับ
ผลประโยชน์ส�ำคัญที่รัฐพึงปกป้อง (Compelling State Interest) กล่ำวคือวัตถุประสงค์ในกำรสร้ำงชั้นเรียนที่ประกอบ
ด้วยควำมหลำกหลำยของนักศึกษำ นอกจำกนั้น ศำลพิจำรณำว่ำ มำตรกำรดังกล่ำวมีมำตรกำรอื่นที่จ�ำกัดสิทธิน้อยกว่ำ
(Less Restrictive Program) หรือไม่ ศำลเปรียบเทียบกับมำตรกำรในลักษณะ “โควตำ” โดยเห็นว่ำ แม้เกณฑ์กำรรับ
นักศึกษำนี้จะเป็นกำรปฏิบัติในลักษณะพิเศษแก่ชนกลุ่มน้อยที่ด้อยโอกำส (Underrepresented Minority Group) แต่
มีกำรน�ำปัจจัยอื่น ๆ เข้ำมำประกอบกำรพิจำรณำส�ำหรับผู้สมัครแต่ละรำยด้วย ซึ่งแตกต่ำงกับระบบโควตำ ดังที่ศำลใน
คดี Regents of the University of California v. Bakke ตัดสินว่ำระบบโควตำนั้นยังมีมำตรกำรทำงเลือกอื่นที่จ�ำกัด
สิทธิน้อยกว่ำ ซึ่งก็คือมำตรกำรน�ำเอำปัจจัยด้ำนเชื้อชำติมำประกอบกำรพิจำรณำดังเช่นในคดีนี้ ดังนั้น ในคดีนี้จึงไม่ใช่
กรณีที่ยังมีมำตรกำรอื่นที่จ�ำกัดสิทธิน้อยกว่ำ ด้วยเหตุนี้มำตรกำรดังกล่ำวจึงไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
จะเห็นได้ว่ำ จำกเหตุผลในค�ำพิพำกษำคดีนี้ แสดงให้เห็นถึงกำรปรับใช้หลัก “มำตรกำรยืนยันสิทธิใน
เชิงบวก” (Affirmative Action) โดยศำลได้วำงหลักที่ส�ำคัญ ดังนี้
มำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก เป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันต่อบุคคล ซึ่งไม่ขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียม
กันตำมรัฐธรรมนูญ และไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ หำกมำตรกำรดังกล่ำวเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ส�ำคัญที่รัฐพึงปกป้อง
(Compelling State Interest) ดังนั้น จึงต้องพิจำรณำว่ำ มำตรกำรดังกล่ำวเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ใด และวัตถุประสงค์
นั้นคือประโยชน์ส�ำคัญที่รัฐพึงปกป้องหรือไม่ กำรส่งเสริมให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงเชื้อชำติ สีผิว ด้วยกำรน�ำเอำปัจจัย
ดังกล่ำวมำประกอบกำรพิจำรณำรับนักศึกษำ ถือได้ว่ำเป็นวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ส�ำคัญดังกล่ำว
มำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกจะต้องมีขอบเขตที่จ�ำกัด กล่ำวคือ ต้องพิจำรณำว่ำเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
242 From “Grutter v. Bollinger” 539 U.S. 306 (2003)
328