Page 327 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 327

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





          นอกจำกรับรองว่ำมำตรกำรดังกล่ำวไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติแล้ว ยังก�ำหนดให้เป็นหน้ำที่ของรัฐในกำรจัดให้มีมำตรกำร
          ดังกล่ำวเพื่อแก้ไขกำรเลือกปฏิบัติโดยพฤตินัย (Defacto Discrimination) และเพื่อบรรลุถึงควำมเท่ำเทียมกันเชิงสำระ
          (Substantive Equality) อย่ำงไรก็ตำม มำตรกำรดังกล่ำวต้องอยู่ภำยใต้เงื่อนไขหรือเกณฑ์ที่กฎหมำยระหว่ำงประเทศ

          ก�ำหนดไว้ เช่น


                         ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขสภำพควำมไม่เท่ำเทียมกันในเชิงสำระหรือกำรเลือกปฏิบัติ

                             โดยพฤตินัย
                         ต้องเป็นมำตรกำรที่สมเหตุสมผล ได้สัดส่วน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ดังกล่ำว

                         ต้องไม่คงอยู่อย่ำงต่อเนื่อง กล่ำวคือ ต้องมีลักษณะชั่วครำว ตำมควำมจ�ำเป็น


                                                                       238
                       กำรฝึกอบรม ตัวอย่ำงเช่น กฎหมำยของสหรำชอำณำจักร  ก�ำหนดให้นำยจ้ำงสำมำรถจัดให้มีกำร
          ฝึกอบรมส�ำหรับลูกจ้ำงบำงกลุ่มหรือส่งเสริมให้ลูกจ้ำงบำงกลุ่ม โดยเฉพำะกลุ่มที่เสียเปรียบ (Under-represented
          group) ได้รับโอกำสในกำรท�ำงำน แต่ห้ำมกำรให้สิทธิพิเศษดังกล่ำวในขั้นตอนกำรสรรหำพนักงำน (Recruitment)

          เว้นแต่คุณสมบัตินั้นมีควำมจ�ำเป็นและเกี่ยวข้องกับงำนโดยแท้จริง
                       ตัวอย่ำงคดีตำมกฎหมำยต่ำงประเทศ
                       ศำลสูงสุดอินเดียตัดสินว่ำ กำรแต่งตั้งผู้หญิงเป็นพิเศษ ได้รับกำรรับรองตำมรัฐธรรมนูญ (The Govern-

          ment of Andhra Pradesh v. P B Vijayakumar, 1995)
                       แอฟริกำใต้ กฎระเบียบเกี่ยวกับเงินสวัสดิกำรส�ำหรับต�ำแหน่งบำงต�ำแหน่งที่ต้องมีกำรสมทบเป็นพิเศษ
          จำกนำยจ้ำงซึ่งแตกต่ำงจำกต�ำแหน่งอื่น ๆ ศำลเห็นว่ำ เป็นกรณีควำมแตกต่ำงกันที่ไม่ถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็น

          ธรรม เพรำะเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก (Minister of Finance and others v. Van Heerden, 2004)






               ๔.๖.๒ หลักความเท่าเทียมกันและมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกในต่างประเทศ: ศึกษากรณี
          มิติการศึกษา

                       มำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกอำจปรำกฏในมิติต่ำง ๆ เช่น แรงงำน กำรศึกษำ บริกำรสำธำรณะ ส�ำหรับ
          ในส่วนนี้จะน�ำเอำมิติด้ำนกำรศึกษำมำเป็นกรณีศึกษำในกำรวิเครำะห์ ส�ำหรับในกฎหมำยต่ำงประเทศนั้น ผู้วิจัยจะได้
          ศึกษำกรณีของกฎหมำยสหรัฐอเมริกำ ซึ่งตำมกฎหมำยสหรัฐอเมริกำนั้น กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันในมิติของกำรศึกษำนั้น

          ในบำงกรณีอำจไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้ เนื่องจำกมำตรกำร นโยบำย หรือกฎหมำยที่ปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำง
          กันด้วยเหตุแห่งเชื้อชำติ สีผิว ถิ่นก�ำเนิด หรือเหตุอื่นนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกำรลดควำมแตกต่ำงและสร้ำงควำม
          เท่ำเทียมกัน จึงถือได้ว่ำเป็นข้อยกเว้นซึ่งท�ำให้กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้นไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติ โดยจัดเป็นมำตรกำร

                                                                                      239
          ยืนยันสิทธิในเชิงบวก เช่น คดี Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education  ซึ่งเป็นกรณีของเมือง
          Charlotte ในมลรัฐ North Carolina มีกำรก�ำหนดนโยบำยรถนักเรียนเพื่อรับนักเรียนผิวสีไปเรียนที่โรงเรียนซึ่งมีเด็ก



                 238
                    Section 38 , Race Relations Act 1976 ; Section 48 , Sex Discrimination Act 1975
                 239
                    From “Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education” 402 U.S. 1 (1971)



                                                        326
   322   323   324   325   326   327   328   329   330   331   332