Page 323 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 323
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
สภำพกำรณ์หรือเงื่อนไขบำงประกำรอันท�ำให้คนกลุ่มหนึ่งถูกกีดกันหรือปฏิเสธสิทธิมนุษยชน รัฐก็จะต้องมีมำตรกำรโดย
เฉพำะเพื่อแก้ไขปัญหำหรือสภำพกำรณ์นี้ มำตรกำรดังกล่ำวอำจเกี่ยวข้องกับกำรให้สิทธิพิเศษบำงประกำรกับบุคคล
บำงกลุ่มเมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลกลุ่มอื่นในช่วงระยะเวลำหนึ่ง ตรำบใดที่มำตรกำรดังกล่ำวมีควำมจ�ำเป็นเพื่อกำร
แก้ไขกำรเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้นในควำมเป็นจริงแล้ว มำตรกำรนั้นเป็นกรณีของควำมแตกต่ำงกันที่ชอบด้วยกฎหมำยตำม
ICCPR” จะเห็นได้ว่ำ มำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก โดยสภำพทั่วไปแล้วเป็นกำรปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกัน แต่เมื่อควำม
แตกต่ำงนั้นมีเหตุผลที่ชอบด้วยกฎหมำยเพื่อเป็นกำรส่งเสริมให้เกิดควำมเท่ำเทียมแก่ผู้ที่เสียเปรียบหรือด้อยโอกำส ก็
ไม่ถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติ จึงอำจพิจำรณำได้ว่ำ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันกรณีนี้เข้ำเหตุยกเว้นท�ำให้เป็นเพียงควำม
แตกต่ำงกันอันชอบด้วยกฎหมำย แต่มิใช่กำรเลือกปฏิบัติ
นอกจำกนี้ ควำมเห็นทั่วไปของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชำชำติ (General Comment
217
No. 4) เกี่ยวกับข้อ ๓ ของ ICCPR ยังได้อธิบำยว่ำ ICCPR ไม่เพียงแต่ก�ำหนดให้รัฐต้องมีมำตรกำรคุ้มครองบุคคลจำก
กำรเลือกปฏิบัติ แต่ยังก�ำหนดให้ต้องจัดให้มี “มำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก” (Affirmative action) เพื่อรับรองสิทธิ
ต่ำง ๆ ตำมที่ก�ำหนดไว้ใน ICCPR”
218
ควำมเห็นทั่วไปของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชำชำติ (General Comment No. 23)
ซึ่งมีประเด็นเกี่ยวกับมำตรกำรเชิงบวก (Positive Action) ในกรณีชนกลุ่มน้อย คณะกรรมกำรได้อธิบำยว่ำสิทธิตำม
ICCPR นั้นเป็นสิทธิของปัจเจกชน แต่ย�้ำว่ำ “มำตรกำรเชิงบวก (Positive action) โดยรัฐอำจมีควำมจ�ำเป็นเพื่อคุ้มครอง
สิทธิของชนกลุ่มน้อยเกี่ยวกับกำรพัฒนำวัฒนธรรม ภำษำ และกำรปฏิบัติเกี่ยวกับศำสนำ”
219
ตัวอย่ำงของคดีที่พิจำรณำตำมบทบัญญัติของ ICCPR อันเกี่ยวข้องกับมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกเช่น
Stalla Costa v. Uruguay คดีนี้เป็นกรณีเจ้ำหน้ำที่ของรัฐได้รับกำรปฏิบัติเป็นพิเศษเกี่ยวกับกำรเข้ำถึงบริกำรสำธำรณะ
แต่ด้วยมีเหตุผลเพรำะกลุ่มเจ้ำหน้ำที่ดังกล่ำวเคยถูกเลิกจ้ำงอย่ำงไม่เป็นธรรมด้วยเหตุเกี่ยวกับควำมคิดเห็น กำรเมือง
และกำรเป็นสมำชิกสหภำพแรงงำน คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชำชำติเห็นว่ำกรณีนี้ไม่เป็นกำรเลือก
ปฏิบัติเนื่องจำกเป็นกรณีของมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก นอกจำกนี้ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชำชำติ
ยังได้ยอมรับมำตรกำรของรัฐในกำรก�ำหนดโควตำส�ำหรับต�ำแหน่งบำงอย่ำงให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือก
ปฏิบัติ เช่น กรณีที่อินเดียก�ำหนดโควตำส�ำหรับต�ำแหน่งทำงกำรเมืองท้องถิ่นส�ำหรับผู้หญิง รวมทั้งส�ำหรับสมำชิกกลุ่ม
220
ชำติพันธุ์บำงกลุ่ม
ในกรณีของ CERD นั้น ได้ก�ำหนดหลักกำรเกี่ยวกับมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวกไว้ ดังนี้
“มำตรกำรพิเศษที่จัดให้มีขึ้นตำมควำมจ�ำเป็น โดยมีเจตนำเพื่อประกันให้มีควำมก้ำวหน้ำอย่ำงเพียงพอ
ในหมู่ชนบำงเชื้อชำติหรือบำงเผ่ำพันธุ์ หรือบุคคลบำงกลุ่มที่ต้องกำรควำมคุ้มครอง เพื่อให้กลุ่มหรือบุคคลเหล่ำนั้นได้มี
สิทธิมนุษยชนและเสรีภำพขั้นพื้นฐำนอย่ำงเสมอภำค จะไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติทำงเชื้อชำติ ทั้งนี้ มำตรกำรดังกล่ำว
ต้องไม่ก่อให้เกิดกำรธ�ำรงไว้ซึ่งสิทธิที่แตกต่ำงกันระหว่ำงกลุ่มชนเชื้อชำติต่ำง ๆ และจะไม่คงอยู่ต่อไปภำยหลังจำกที่ได้
221
บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้แล้ว”
217
From General Comment No. 4, Human Rights Committee
218
From General Comment No. 13, Human Rights Committee
219
From No. 198/1985
220
From Concluding Observation on India, 1997, Human Rights Committee
221
Article 1 (4), CERD
322