Page 320 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 320

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ








                                   ผู้ครอบครองที่ดินที่ถูกเวนคืนเหมือนกัน แต่ถูกแบ่งกลุ่มและให้ค่ำทดแทนไม่เท่ำกัน ขัดกับหลัก

                            ควำมเสมอภำคตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ (ค�ำพิพำกษำศำลปกครอง
                            สูงสุดที่ อ.๒๒/๒๕๕๑) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำเกี่ยวข้องกับควำมเท่ำเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหำ

                            (Formal Equality) เนื่องจำกมีกำรแบ่งกลุ่มคนที่ “เหมือนกัน” ออกเป็นสองกลุ่มและปฏิบัติต่อบุคคล
                            แต่ละกลุ่มแตกต่ำงกันออกไป



                                   กฎเกณฑ์ที่พิพำทส่งผลให้เกิดกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน ซึ่งเป็นไปโดยมิได้มีบทบัญญัติแห่งกฎ
                            หมำยจ�ำกัดคุณสมบัติด้ำนต�ำแหน่งไว้เป็นกำรเฉพำะ ก่อให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมระหว่ำงผู้มีสิทธิกับ

                            ผู้ไม่มีสิทธิในกำรเลือกตั้ง และเข้ำรับกำรเลือกตั้ง โดยไม่เป็นธรรมและไม่มีเหตุผลอันอำจรับฟังได้ อัน
                            ขัดต่อหลักควำมเสมอภำคตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่
                            ฟ.๑๗/๒๕๕๑) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำเกี่ยวข้องกับควำมเท่ำเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหำ (Formal

                            Equality) เนื่องจำกสำมำรถเปรียบเทียบได้ว่ำเกิดควำมแตกต่ำงกันระหว่ำงบุคคลสองกลุ่มที่มีลักษณะ
                            “เหมือนกัน” โดยกลุ่มหนึ่งมีสิทธิเลือกตั้งและเข้ำรับกำรเลือกตั้ง ในขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งไม่มีสิทธิเลือกตั้ง
                            และไม่มีสิทธิเข้ำรับกำรเลือกตั้ง



                                   มติของผู้ถูกฟ้องคดี (คณะรัฐมนตรี) ในกำรให้สิทธิพิเศษแก่องค์กำรโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
                            (ทศท.) ในกำรให้บริกำรเลขหมำยโทรศัพท์แก่หน่วยงำนของรัฐ อันมีผลท�ำให้ผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นคู่สัญญำ

                            ร่วมกำรงำนและร่วมลงทุนกับ ทศท. ไม่อำจให้บริกำรแก่หน่วยงำนของรัฐได้ ….และมีลักษณะเป็นกำร
                            เลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อสิทธิตำมสัญญำฯ ของผู้ฟ้องคดี ซึ่งขัดกับหลักควำมเสมอภำคตำมที่มำตรำ

                            ๓๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ ฟ.๒๖/๒๕๔๖) กรณีนี้
                            จะเห็นได้ว่ำเกี่ยวข้องกับควำมเท่ำเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหำ (Formal Equality) เนื่องจำก
                            สำมำรถเปรียบเทียบได้ว่ำมติที่พิพำทส่งผลให้เกิดควำมแตกต่ำงกันระหว่ำง ทศท. ที่ได้รับสิทธิพิเศษ

                            ในขณะที่ผู้ฟ้องคดีไม่ได้รับสิทธิดังกล่ำว



                                   กำรก�ำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมในกำรขอใช้ไฟฟ้ำส�ำหรับบุคคลบำงกลุ่ม เป็นกำรเลือกปฏิบัติ
                            (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๕๗/๒๕๔๙) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำเกี่ยวข้องกับควำมเท่ำเทียมกัน
                            ในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหำ (Formal Equality) เนื่องจำกโดยเนื้อหำของเงื่อนไขนั้นมีข้อก�ำหนดเพิ่มเติม

                            ส�ำหรับบุคคลบำงกลุ่มในขณะที่บุคคลกลุ่มอื่นไม่ต้องอยู่ภำยใต้เงื่อนไขดังกล่ำว


                                   กำรแบ่งลูกจ้ำงเป็น ๓ กลุ่ม ตำมช่วงเวลำกำรสมัครเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

                            และให้สิทธิพิเศษเฉพำะกับลูกจ้ำงบำงกลุ่ม เป็นกำรเลือกปฏิบัติ (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่
                            อ.๑๔๘/๒๕๔๙) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำเกี่ยวข้องกับควำมเท่ำเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหำ (Formal
                            Equality) เนื่องจำกสำมำรถเปรียบเทียบได้ว่ำเนื้อหำข้อก�ำหนดดังกล่ำวท�ำให้เกิดควำมแตกต่ำงกัน

                            ระหว่ำงลูกจ้ำงที่ “เหมือนกัน”




                                                               319
   315   316   317   318   319   320   321   322   323   324   325