Page 316 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 316
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
ครอบคลุม “ ถิ่นก�ำเนิด เชื้อชำติ ภำษำ เพศ อำยุ ควำมพิกำร สภำพทำงกำยหรือสุขภำพ สถำนะของบุคคล ฐำนะทำง
เศรษฐกิจหรือสังคม ควำมเชื่อทำงศำสนำ กำรศึกษำอบรม หรือควำมคิดเห็นทำงกำรเมือง” อย่ำงไรก็ตำม กำรระบุ
คุณลักษณะตำมที่ก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเยอรมันนั้นเป็นกำรท�ำให้เกิดควำมแน่ใจขั้นต�่ำที่สุดต่อกำรเลือกปฏิบัติ ส่วน
ควำมแตกต่ำงในลักษณะอื่น ๆ นอกจำกที่ก�ำหนดไว้ในมำตรำ ๓ วรรคสำม จะต้องพิจำรณำตำมหลักควำมเสมอภำค
210
ทั่วไปตำมมำตรำ ๓ วรรคหนึ่ง จะเห็นได้ว่ำ หำกเป็นกรณีเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติอื่น ๆ ที่มิได้บัญญัติไว้ในส่วนหลัก
ห้ำมเลือกปฏิบัติโดยเฉพำะ ก็ยังจะได้รับกำรคุ้มครองตำมหลักควำมเสมอภำคทั่วไป ส�ำหรับรัฐธรรมนูญของไทยนั้น มีกำร
ก�ำหนดเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติหลำยเหตุที่อำจตีควำมครอบคลุมได้กว้ำง เช่น “สภำพทำงกำยหรือสุขภำพ สถำนะของ
บุคคล ฐำนะทำงเศรษฐกิจหรือสังคม” อย่ำงไรก็ตำม หำกมีกรณีเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่อำจจัดอยู่ในเหตุดังกล่ำว
หำกพิจำรณำตำมแนวทำงของเยอรมันก็อำจตีควำมให้อยู่ในควำมคุ้มครองของหลักควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำเทียม
กันทั่วไปตำมวรรคแรกได้เช่นกัน
รัฐธรรมนูญฟินแลนด์
จำกกำรศึกษำรัฐธรรมนูญฟินแลนด์ดังที่กล่ำวมำแล้วในบทที่ ๓ จะเห็นได้ว่ำ รัฐธรรมนูญ
ฟินแลนด์มีรูปแบบโครงสร้ำงเริ่มจำกวำงหลักควำมเสมอภำคทั่วไป (มำตรำ ๖ วรรคแรก) จำกนั้นวำงหลักห้ำม
เลือกปฏิบัติ (มำตรำ ๖ วรรคสอง) ต่อมำ จึงวำงหลักควำมเสมอภำคเฉพำะกรณี “เด็ก” (มำตรำ ๖ วรรคสำม)
และหลักควำมเสมอภำคเฉพำะกรณี “เพศ” (มำตรำ ๖ วรรคสี่) หำกเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญของไทยและ
เยอรมันจะพบว่ำ รัฐธรรมนูญฟินแลนด์ในส่วนที่เกี่ยวกับหลักควำมเสมอภำคนั้น จ�ำแนกหลักควำมเสมอภำค
ออกเป็น ๓ กรณี เช่นเดียวกัน กล่ำวคือ หลักควำมเสมอภำคทั่วไป หลักควำมเสมอภำคเฉพำะ และหลักกำร
ห้ำมเลือกปฏิบัติ ส�ำหรับหลักควำมเสมอภำคเฉพำะนั้น รัฐธรรมนูญฟินแลนด์ เยอรมัน และไทย ต่ำงก�ำหนดหลัก
ควำมเสมอภำคเฉพำะกรณีเหตุแห่ง “เพศ” แต่รัฐธรรมนูญฟินแลนด์มีกำรบัญญัติหลักควำมเสมอภำคเฉพำะ
กรณี “เด็ก” เพิ่มเติมขึ้นด้วย
รัฐธรรมนูญสวีเดน
หำกเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญสวีเดน จะพบว่ำ มิได้บัญญัติหลักควำมเสมอภำคหรือควำม
เท่ำเทียมกันโดยทั่วไปไว้ แต่มีกำรวำงหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ (แต่มีข้อสังเกตว่ำ ไม่ได้ใช้ค�ำว่ำ “Discrimination”
โดยใช้ค�ำว่ำ “Unfavourable treatment” ซึ่งอำจแปลว่ำ กำรปฏิบัติอันเป็นที่พึงพอใจน้อยกว่ำ หรือกำรกีดกัน)
โดยวำงหลักห้ำมเลือกปฏิบัติเฉพำะกรณี กล่ำวคือ มำตรำ ๑๕ (กำรห้ำมเลือกปฏิบัติต่อชนกลุ่มน้อย (Minority) และ
มำตรำ ๑๖ (และกำรห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่ง “เพศ”)
210 หลักพื้นฐำนเกี่ยวกับสิทธิเสรีภำพและศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ หน้ำ ๔๔
315