Page 315 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 315

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





                                                                     207
          ที่ว่ำ ควำมเท่ำเทียมกันนั้นหมำยถึงกำรบริหำรจัดกำรให้เกิดควำมยุติธรรม  โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ศำลยังได้อ้ำงค�ำตัดสิน
                                                 208
          ในคดี Ong Ah Chuan v. Public Prosecutor   ที่ตีควำมมำตรำ ๑๒ ว่ำ “มุ่งคุ้มครองปัจเจกชนให้มีสิทธิได้รับกำร
          ปฏิบัติที่เท่ำเทียมกันกับบุคคลอื่นในสถำนกำรณ์เช่นเดียวกัน (Similar Circumstances)”
                                                                                                 209
                               ศำลสูงสุดได้ตีควำมมำตรำ ๑๒ ในคดี Public Prosecutor v. Taw Cheng Kong  โดยวำง
          เกณฑ์ส�ำหรับพิจำรณำว่ำกฎหมำยหรือมำตรกำรที่พิพำทนั้น เป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒ หรือ

          ไม่ เกณฑ์ดังกล่ำวมีสองขั้น (Stages) ดังนี้
                               ขั้นแรก พิจำรณำว่ำ กฎหมำยนั้นปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันหรือไม่ หำกผลกำรพิจำรณำชี้ว่ำ

          กฎหมำยนั้นไม่ได้ปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกัน กฎหมำยนั้นก็ผ่ำนเกณฑ์นี้ และไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติ แต่หำกกฎหมำย
          นั้นปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกัน ก็จะต้องพิจำรณำขั้นที่สองต่อไป
                                ขั้นที่สอง พิจำรณำว่ำ กฎหมำยที่ปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันนั้น อยู่บนพื้นฐำนเหตุผลกำร

          จ�ำแนกควำมแตกต่ำงที่ชอบหรือไม่ ในกำรนี้ จะต้องแยกพิจำรณำเป็นสองกรณี คือ
                                กรณีแรก พิจำรณำว่ำ กำรจ�ำแนกควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลในกลุ่มหนึ่งกับบุคคลที่อยู่
          นอกกลุ่มนั้น อยู่บนพื้นฐำนเหตุผลที่สำมำรถเข้ำใจได้หรือไม่ หำกผลกำรพิจำรณำชี้ว่ำ ไม่อยู่บนพื้นฐำนเหตุผลที่เข้ำใจ

          ได้ กฎหมำยนั้นก็เป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ แต่หำกอยู่บนพื้นฐำนเหตุผลที่เข้ำใจได้ ก็จะต้องพิจำรณำใน
          กรณีที่สองต่อไป
                                กรณีที่สอง พิจำรณำว่ำ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้นมีควำมสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่ต้องกำร

          บรรลุหรือไม่ หำกผลกำรพิจำรณำชี้ว่ำ มีควำมสัมพันธ์กัน หรืออำจกล่ำวได้ว่ำกฎหมำยซึ่งเป็นวิธีกำรในกำรบรรลุเป้ำหมำย
          นั้นได้สัดส่วนกับเป้ำหมำยที่ต้องกำรบรรลุ กฎหมำยนั้นก็ผ่ำนเกณฑ์นี้ และไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติ แต่หำกกฎหมำย

          นั้นไม่มีควำมสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่ต้องกำรบรรลุ กฎหมำยนั้นก็ไม่ผ่ำนเกณฑ์ กล่ำวคือ เป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ขัดต่อ
          รัฐธรรมนูญ



               ๔.๕.๓ วิเคราะห์เปรียบเทียบโครงสร้างการก�าหนดหลักความเท่าเทียมกันตามรัฐธรรมนูญประเทศ

          ต่าง ๆ



                       หำกพิจำรณำโครงสร้ำงกำรบัญญัติหลักควำมเสมอภำคตำมรัฐธรรมนูญของไทยเปรียบเทียบกับ
          รัฐธรรมนูญเยอรมัน จะเห็นได้ว่ำ รัฐธรรมนูญทั้งสองประเทศมีโครงสร้ำงกำรบัญญัติหลักควำมเสมอภำคและกำรห้ำม

          เลือกปฏิบัติในลักษณะคล้ำยคลึงกัน กล่ำวคือ วรรคแรก วำงหลักควำมเสมอภำคทั่วไป วรรคสองก�ำหนดหลักควำม
          เสมอภำคเฉพำะเรื่อง และวรรคสำมก�ำหนดหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ อย่ำงไรก็ตำม ข้อแตกต่ำงที่ส�ำคัญประกำรหนึ่งก็
          คือ ในกรณีของหลักห้ำมเลือกปฏิบัตินั้น รัฐธรรมนูญเยอรมันก�ำหนด “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” ไว้น้อยกว่ำรัฐธรรมนูญ

          ของไทย กล่ำวคือ รัฐธรรมนูญเยอรมัน มำตรำ ๓ วรรคสำมครอบคลุม “ เพศ เชื้อชำติ สัญชำติ ภำษำ ถิ่นก�ำเนิด เผ่ำพันธุ์
          ควำมเชื่อ ควำมคิดในทำงศำสนำหรือกำรเมือง ควำมพิกำร” โดยรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐



                 207
                    From “Public Prosecutor v. Su Liang Yu (1976)”
                 208
                    From “Ong Ah Chuan v. Public Prosecutor [1980]” UKPC 32
                 209
                    From “Public Prosecutor v. Taw Cheng Kong [1998]” 2 S.L.R.(R.) 489



                                                         314
   310   311   312   313   314   315   316   317   318   319   320