Page 317 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 317

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ



               รัฐธรรมนูญสิงคโปร์


                         หำกเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญสิงคโปร์จะพบว่ำ โครงสร้ำงของกำรบัญญัติหลักควำมเสมอภำค
            และกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ แตกต่ำงจำกโครงสร้ำงรัฐธรรมนูญเยอรมันและไทย เนื่องจำก วรรคแรก วำงหลักควำม

            เสมอภำคทั่วไป วรรคสองก�ำหนดหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ โดยมิได้มีกำรจ�ำแนกหลักควำมเสมอภำคเฉพำะเรื่องแต่
            อย่ำงใด โครงสร้ำงลักษณะนี้คล้ำยคลึงกับ รัฐธรรมนูญแอฟริกาใต้ ซึ่งมีกำรบัญญัติหลักควำมเสมอภำคทั่วไป
            (มำตรำ ๙ วรรคแรก) และหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ (มำตรำ ๙ วรรคสำม และวรรคสี่) ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญมิได้จ�ำแนก

            ควำมเสมอภำคทั่วไป กับควำมเสมอภำคเฉพำะเรื่อง เช่น เพศ ดังเช่นรัฐธรรมนูญไทย เยอรมัน ฟินแลนด์



               รัฐธรรมนูญมาเลเซีย


                         ส�ำหรับ รัฐธรรมนูญของมาเลเซีย นั้นมีรูปแบบโครงสร้ำงกำรวำงหลักควำมเสมอภำค โดยเริ่มจำก
            วำงหลักควำมเสมอภำคทั่วไป (มำตรำ ๘ วรรคแรก) หลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ (มำตรำ ๘ วรรคสอง วรรคสำม) และ

            หลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติเฉพำะกรณีศำสนำ (มำตรำ ๑๒) จะเห็นได้ว่ำ รัฐธรรมนูญมำเลเซียไม่มีกำรวำงหลักควำม
            เสมอภำคเฉพำะกรณี เช่น ควำมเสมอภำคระหว่ำงเพศ ดังเช่นรัฐธรรมนูญของไทย เยอรมัน ฟินแลนด์ โดยมีเพียง

            หลักควำมเสมอภำคทั่วไป และหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติซึ่งจ�ำแนกเป็นกรณีต่ำง ๆ



               รัฐธรรมนูญแคนาดา


                          หำกเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญแคนาดาจะพบว่ำ รัฐธรรมนูญแคนำดำมีโครงสร้ำงกำรบัญญัติหลัก
            ควำมเสมอภำคและกำรห้ำมเลือกปฏิบัติที่แตกต่ำงออกไปอีกรูปแบบหนึ่ง กล่ำวคือ ก�ำหนดกำรห้ำมเลือกปฏิบัติไว้

            เป็นส่วนหนึ่งของหลักควำมเท่ำเทียมกัน โดยรวมอยู่ในมำตรำ ๑๕ (๑) ทั้งหมด โดยมิได้จ�ำแนกหลักควำมเสมอภำค
            ทั่วไป หลักควำมเสมอภำคเฉพำะเรื่อง และหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติออกจำกกันเป็นคนละวรรค



                       จำกกำรวิเครำะห์เปรียบเทียบโครงสร้ำงของรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวกับกำรวำงหลักควำมเสมอภำค
          หรือควำมเท่ำเทียมกันดังกล่ำวแล้ว อำจจ�ำแนกรูปแบบและโครงสร้ำงของรัฐธรรมนูญในกำรบัญญัติหลักควำมเท่ำเทียม

          กันได้ ๓ รูปแบบ ดังนี้
                       รูปแบบแรก ก�ำหนดจ�ำแนกหลักควำมเท่ำเทียมกัน ออกเป็น ๓ กรณี คือ ควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำ
          เทียมกันทั่วไป ควำมเสมอภำคเฉพำะเรื่อง และหลักห้ำมเลือกปฏิบัติ เช่น เยอรมัน ไทย ฟินแลนด์

                       รูปแบบที่สอง ก�ำหนดจ�ำแนกหลักควำมเท่ำเทียมกัน ออกเป็น ๒ กรณี คือ ควำมเสมอภำคหรือควำม
          เท่ำเทียมกัน และหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ โดยมิได้จ�ำแนกควำมเสมอภำคเฉพำะเรื่องออกจำกควำมเสมอภำคทั่วไป โดย

          ในรูปแบบนี้อำจจ�ำแนกได้เป็น ๒ รูปแบบย่อย คือ
                        จ�ำแนกหลักควำมเสมอภำค ออกจำกหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ โดยก�ำหนดไว้คนละวรรค เช่น
          แอฟริกำใต้ สิงคโปร์ มำเลเซีย

                        ก�ำหนดหลักควำมเสมอภำคและกำรห้ำมเลือกปฏิบัติไว้รวมในวรรคเดียวกัน เช่น แคนำดำ
                       รูปแบบที่สาม ไม่ระบุถึงหลักควำมเสมอภำคหรือหลักควำมเท่ำเทียมไว้ โดยมีเพียงก�ำหนดหลักกำร
          “ห้ำมเลือกปฏิบัติ” เช่น สวีเดน




                                                         316
   312   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322