Page 310 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 310

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                                     หลักห้ำมกำรเลือกปฏิบัตินั้นมีควำมสัมพันธ์กับหลักควำมเท่ำเทียมกัน ดังจะเห็นได้จำกคดี
               ที่ศำลพิจำรณำกำรเลือกปฏิบัติภำยใต้กรอบของหลักควำมเท่ำเทียมกัน เช่น Law v. Canada (Minister of Employ-
                                     197
               ment and Immigration)




                      ศำลสูงสุดตัดสินว่ำวำงเกณฑ์พิจำรณำว่ำกฎเกณฑ์หรือ
                มำตรกำรที่ปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันนั้นจะเป็นกำรเลือกปฏิบัติ
                หรือไม่ จะต้องพิจำรณำ ๓ ประเด็น ดังนี้

                        ๑. กฎเกณฑ์ที่พิพำทนั้นได้ก�ำหนดหลักกำรที่แตกต่ำงกัน
                           (Differential treatment) ระหว่ำงบุคคลผู้อ้ำงว่ำ

                              ได้รับผลกระทบกับบุคคลอื่นหรือไม่  ทั้งในเชิง
                             วัตถุประสงค์ และผลกระทบ (In purpose or effect)
                        ๒. กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้นเกิดขึ้นจำกพื้นฐำนของเหตุ

                             แห่งกำรเลือกปฏิบัติที่ระบุไว้หรือไม่
                        ๓. กฎเกณฑ์ที่พิพำทนั้นมีวัตถุประสงค์หรือส่งผลกระทบ
                           ให้เกิดกำรเลือกปฏิบัติตำมควำมหมำยของควำม

                             เท่ำเทียมกันที่ได้รับกำรคุ้มครองตำมรัฐธรรมนูญหรือไม่



                                      จำกประเด็นพิจำรณำที่ ๓ จะเห็นได้ว่ำ หลักกำรเลือกปฏิบัตินั้นไม่สำมำรถแยกพิจำรณำต่ำงหำก

               ได้ แต่ต้องพิจำรณำภำยใต้กรอบหลักกำรส�ำคัญอันเป็นจุดหมำยของกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ ซึ่งก็คือหลักควำมเท่ำเทียมกัน
               นั่นเอง



                                     ๔.๕.๒.๒.๑ หลักความเท่าเทียมกันและการเลือกปฏิบัติโดยอ้อม
                                               กำรพิจำรณำหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญแคนำดำ ด้วยกรอบอย่ำง

               กว้ำง ซึ่งมิได้จ�ำกัดอยู่แต่รูปแบบหรือเนื้อหำภำยนอกของมำตรกำรนั้น โดยจะครอบคลุมถึงผลกระทบในทำงลบ
               (Adverse Effect) จำกมำตรกำรนั้นอันเกิดขึ้นกับบุคคลด้วย ดังที่ศำลสูงสุดได้อธิบำยไว้ในคดี Ontario Human Rights
                                                198
               Commission v. Simpsons-Sears Ltd  ว่ำ วัตถุประสงค์ของหลักควำมเท่ำเทียมกันมิใช่อยู่ที่กำรลงโทษผู้กระท�ำกำร
               อันเป็นกำรเลือกปฏิบัติ (Discriminator) แต่คือกำรบรรเทำผลร้ำย (relief) ของเหยื่อผู้ถูกเลือกปฏิบัติ จึงต้องพิจำรณำว่ำ
               หำกกระท�ำ มำตรกำร หรือกฎเกณฑ์ที่พิพำทนั้น ก่อให้เกิดผลกระทบในทำงลบ โดยสร้ำงเงื่อนไข ก�ำหนดหน้ำที่ ลงโทษ

               หรือจ�ำกัดสิทธิต่อบุคคลหนึ่ง โดยมิได้ส่งผลเช่นนั้นต่อบุคคลอื่นหรือกลุ่มอื่นในสังคม กระท�ำ มำตรกำร หรือกฎเกณฑ์ที่






                      197
                          From “Law v. Canada (Minister of Employment and Immigration) [1999]” 1 S. C. R. 497
                      198
                          From “Ontario Human Rights Commission v. Simpsons-Sears Ltd [1985]” 2 SCR 53, Supreme Court
               of Canada




                                                               309
   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315