Page 308 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 308

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ






                                      บุคคลทุกคนเท่ำเทียมกันภำยใต้กฎหมำยและมีสิทธิที่จะได้รับกำรคุ้มครองและ
                                ได้รับประโยชน์ตำมกฎหมำยที่เท่ำเทียมกันโดยปรำศจำกกำรเลือกปฏิบัติ โดยเฉพำะ

                                อย่ำงยิ่ง ปรำศจำกกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุเชื้อชำติ สัญชำติ ชำติพันธุ์ สีผิว ศำสนำ
                                เพศ อำยุ ควำมพิกำรทำงกำยหรือจิต




                                      ควำมใน (๑) ไม่ใช้กับกรณีที่กฎหมำย โปรแกรม หรือกิจกรรมใด ๆ ซึ่ง
                                มีวัตถุประสงค์เพื่อกำรเยียวยำบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่อยู่ภำยใต้สภำวะหรือ

                                เงื่อนไขที่เสียเปรียบ ด้วยเหตุเชื้อชำติ สัญชำติ ชำติพันธุ์ สีผิว ศำสนำ เพศ อำยุ
                                ควำมพิกำรทำงกำยหรือจิต



                                     ประเด็นส�ำคัญในกำรตีควำมและพิจำรณำคดีเกี่ยวกับควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ

               แคนำดำ คือ ควำมเท่ำเทียมกันนี้จะมีควำมหมำยแคบ จ�ำกัดเฉพำะรูปแบบหรือเนื้อหำกฎเกณฑ์หรือมำตรกำรว่ำมีกำร
               ปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันหรือไม่ หรือจะมีควำมหมำยกว้ำง โดยพิจำรณำจำกผลกระทบต่อบุคคลอันเกิดจำกกฎเกณฑ์
               หรือมำตรกำรนั้นด้วย

                                     หำกพิจำรณำตำมกฎหมำยแคนำดำ จะพบว่ำได้มีกำรยอมรับหลักควำมเท่ำเทียมกันเชิงสำระ
                                                                                                       190
               (Substantive Equality) ดังจะเห็นได้จำกคดีส�ำคัญ เช่น Andrews v. Law Society of British Columbia  ซึ่งศำล
               ตัดสินว่ำ รัฐธรรมนูญมิได้เพียงแต่รับรองควำมเท่ำเทียมกันเชิงรูปแบบ (Formal equality) เท่ำนั้น แต่ยังรวมถึงควำม
               เท่ำเทียมกันเชิงสำระ (Substantive equality) ด้วย รัฐธรรมนูญแคนำดำมิได้เพียงคุ้มครองปัจเจกบุคคลจำกกำรเลือก
               ปฏิบัติโดยรัฐซึ่งกระท�ำโดยเจตนำ (Intentional Discrimination by the State) แต่ยังครอบคลุมถึงกำรคุ้มครองบุคคล

               จำกนโยบำย กฎหมำย แนวปฏิบัติใด ๆ ซึ่งส่งผลกระทบก่อให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมกัน (In Effect Create Inequality)
                                     นอกจำกนี้ พบว่ำศำลแคนำดำยังน�ำหลักควำมไม่เท่ำเทียมกันเชิงระบบ (Systematic

               Inequality) มำปรับใช้ด้วย กล่ำวคือ มิได้พิจำรณำเฉพำะหลักฐำนของกำรเลือกปฏิบัติโดยเจำะจงของกฎหรือมำตรกำร
               อันใดอันหนึ่ง แต่พิจำรณำว่ำมีควำมไม่เท่ำเทียมกันหรือไม่จำกผลรวมของปัจจัยหลำยประกำรซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กัน
                                                191
               (Numerous Factors which Interact)
                                     ศำลในคดี Law v. Canada อธิบำยว่ำ ควำมเท่ำเทียมกันหมำยควำมว่ำสังคมจะไม่สำมำรถ
               ทนต่อกฎหมำยที่แตกต่ำงกันโดยส่งผลต่อบุคคลบำงกลุ่มให้กลำยเป็นพลเมืองชั้นสอง ท�ำให้คุณค่ำของบุคคลเหล่ำนั้น
               ลดลง หรือปฏิบัติต่อบุคคลเหล่ำนั้นเสมือนหนึ่งมีควำมสำมำรถหรือสิทธิที่ด้อยกว่ำโดยปรำศจำกเหตุผลอันสมควรหรือ

               เป็นกำรล่วงละเมิดต่อเกียรติและศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ จะเห็นได้ว่ำศำลน�ำแนวคิดเกี่ยวกับเกียรติและศักดิ์ศรีของ
                                                                                                             192
               ควำมเป็นมนุษย์ (Human Dignity) มำประกอบกำรพิจำรณำถึงควำมไม่เท่ำเทียมกันอันเกิดจำกกฎเกณฑ์ต่ำง ๆ ด้วย



                      190   From “Andrews v. Law Society of British Columbia [1989]” 1 SCR 143, Supreme Court of Canada
                      191   From “Action Travail des Femmes v. Canadian National Railway Company [1987]” 1 SCR 1114

               Supreme Court of Canada
                      192   From “Law v. Canada [1999]” 1 SCR 497, Canadian Supreme Court, para 51




                                                               307
   303   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313