Page 309 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 309

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





                                                                    193
                               อย่ำงไรก็ตำม ในคดี Gosselin v. Quebec  ซึ่งมีประเด็นพิจำรณำว่ำ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับ
          สวัสดิกำรที่ให้สิทธิแก่บุคคลแตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่งอำยุนั้น ขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๕

          หรือไม่ โจทก์อ้ำงว่ำตนถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งอำยุ แต่ศำลเห็นว่ำกฎเกณฑ์ที่ให้เงินอุดหนุนแตกต่ำงกันระหว่ำง
          บุคคลอำยุต�่ำกว่ำ ๓๐ และอำยุเกิน ๓๐ นั้นมิได้แสดงให้เห็นว่ำกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้รับกำรปฏิบัติในลักษณะที่เกียรติและ
          ศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ถูกลดคุณค่ำลงเมื่อเทียบกับอีกกลุ่มหนึ่ง ดังนี้จะเห็นได้ว่ำ ในแง่หนึ่งกำรน�ำเอำปัจจัยอื่น ๆ

          เช่น เกียรติและศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์มำประกอบกำรพิจำรณำว่ำ กฎเกณฑ์หรือนโยบำยนั้นเลือกปฏิบัติอันขัดต่อ
          หลักควำมเท่ำเทียมกันหรือไม่ เป็นกำรพิจำรณำหลักควำมเท่ำเทียมอย่ำงกว้ำงในกรอบแนวคิด ควำมไม่เท่ำเทียมกัน

          เชิงระบบ (Systematic Inequality) แต่อีกนัยหนึ่ง กำรก�ำหนดให้โจทก์ต้องพิสูจน์แสดงให้เห็นควำมมีอยู่ของปัจจัยอื่น ๆ
          ด้วยนั้น อำจเป็นภำระของฝ่ำยโจทก์เช่นกัน
                               แม้กำรน�ำปัจจัยอื่น ๆ เข้ำมำประกอบเพื่อบ่งชี้ว่ำมีควำมไม่เท่ำเทียมกันในเชิงสำระเกิดขึ้นอัน

          เป็นกำรฝ่ำฝืนหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ แต่ศำลก็ยอมรับว่ำกำรน�ำปัจจัยเกี่ยวกับเกียรติและศักดิ์ศรีของ
                                                                      194
          ควำมเป็นมนุษย์มำประกอบกำรบ่งชี้ดังกล่ำวนั้นอำจสร้ำงควำมยุ่งยำกขึ้น  โดยเฉพำะส�ำหรับโจทก์ในกำรกล่ำวอ้ำง
                                                                               195
          เนื่องจำกเกียรติและศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ก็มีลักษณะเป็นนำมธรรมและอัตวิสัย


                                                                                                196
                               นอกจำกนี้ ในปี ๒๐๐๘ ศำลสูงสุดได้ตัดสินคดีส�ำคัญ คือ Canada in R. v. Kapp  คดีนี้เกิด
          ขึ้นจำกกำรอุทธรณ์ค�ำพิพำกษำของศำลมลรัฐ British Columbia ซึ่งมีประเด็นว่ำ กำรที่รัฐออกใบอนุญำตประมงให้กับ

          กลุ่มชนพื้นเมืองบำงกลุ่มเป็นพิเศษนั้น เป็นกำรละเมิดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกันและกำรห้ำมเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ
          แคนำดำ มำตรำ ๑๕ หรือไม่ ศำลสูงสุดตัดสินว่ำ กรณีนี้เป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน (Distinction) ของโปรแกรมของ

          รัฐบำล อันเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติที่ระบุในรัฐธรรมนูญ แต่ไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ โดยศำล
          ได้น�ำปัจจัย ๒ ประกำรมำประกอบกำรพิจำรณำ คือ วัตถุประสงค์ของโปรแกรม และกลุ่มบุคคลเป้ำหมำยของโปรแกรม
          (Target Group) ซึ่งได้แก่บุคคลผู้เสียเปรียบหรือมีโอกำสด้อยกว่ำกลุ่มอื่น ศำลจึงเห็นว่ำโปรแกรมของรัฐบำลนั้นจึงมี

          วัตถุประสงค์ที่ไม่ขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ เนื่องจำกส่งเสริมให้กลุ่มผู้เสียเปรียบได้มีโอกำสที่เท่ำเทียมกันบุคคลอื่น ๆ
                               จะเห็นได้ว่ำ ค�ำตัดสินของศำลข้ำงต้น สะท้อนให้เห็นว่ำ ศำลยอมรับหลักควำมเท่ำเทียมกัน

          เชิงสำระ (Substantive Equality) เช่นเดียวกับคดี Andrews v. Law Society of British Columbia โดยตีควำมว่ำ
          รัฐธรรมนูญครอบคลุมถึงกำรคุ้มครองบุคคลจำกนโยบำย กฎหมำย แนวปฏิบัติใด ๆ ซึ่งส่งผลกระทบก่อให้เกิดควำมไม่
          เท่ำเทียมกัน (In Effect Create Inequality) โดยในกำรพิจำรณำดังกล่ำว ศำลมิได้พิจำรณำเฉพำะรูปแบบภำยนอกของ

          กฎเกณฑ์ มำตรกำร หรือโปรแกรมที่พิพำทเท่ำนั้น แต่ยังน�ำเอำปัจจัยอื่น ๆ เช่น วัตถุประสงค์ของกฎเกณฑ์นั้นและผล
          กระทบที่เกิดจำกกฎเกณฑ์นั้นมำประกอบ ทั้งนี้ เพื่อน�ำไปสู่ควำมเท่ำเทียมกันในเชิงสำระหรือในผลลัพธ์ที่มุ่งหมำย
          ให้เกิดควำมเท่ำเทียมกันด้วยกำรค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลด้วย




                 193   From “Gosselin v. Quebec 2002” [SCC] 84 ,Canadian Supreme Court
                 194   From “R v. Kapp 2008” SCC 41 ,Supreme Court of Canada

                 195   From “Ontario Human Rights Commission v. Simpsons-Sears Ltd [1985]” 2 SCR 53 ,Supreme Court of
          Canada, para.21-22
                 196   From “Canada in R. v. Kapp” SCC 41, [2008] 2 S.C.R. 483, 294 D.L.R. (4 )
                                                                                th




                                                         308
   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314