Page 302 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 302

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





               โควตำส�ำหรับนักเรียนเชื้อชำติต่ำง ๆ ส�ำหรับกำรเข้ำศึกษำในสถำบันกำรศึกษำบำงแห่ง เพื่อรับรองว่ำผลสุดท้ำยแล้ว
               นักเรียนบำงเชื้อชำติที่เสียเปรียบจะมีโอกำสได้ศึกษำ อย่ำงไรก็ตำม ควำมเท่ำเทียมกันตำมแนวทำงนี้มีปัญหำอันน�ำไป
               สู่ข้อโต้แย้งว่ำ เป็นกำรสร้ำงควำมเท่ำเทียมกันด้วยกำรแทรกแซงอันมีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อบุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง

               อยู่ในตัว โดยเฉพำะบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในกลุ่มซึ่งได้รับกำรคุ้มครอง (Protected Group) เช่น กำรก�ำหนดโควตำต�ำแหน่ง
                                                                                                            175
               บริหำรให้กับผู้หญิง ส่งผลให้ผู้ชำยที่มีควำมสำมำรถเช่นเดียวกันถูกกีดกันและเป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อผู้ชำยเหล่ำนั้น
                                     จำกกำรเปรียบเทียบแนวคิดทั้งสอง ผู้วิจัยมีข้อวิเครำะห์ว่ำ ควำมเท่ำเทียมกันในโอกำส

               (Equality of Opportunity) จะเกี่ยวข้องกับมำตรกำร นโยบำย เพื่อส่งเสริมที่จุดเริ่มต้น (Starting Point) ในกำรเข้ำ
               สู่โอกำสต่ำง ๆ ในสังคมของกลุ่มผู้เสียเปรียบหรือกลุ่มผู้ที่มักถูกกีดกันให้เป็นกลุ่มคนชำยขอบ (Marginalised Group)

               เช่น มำตรกำรส่งเสริมควำมสำมำรถของคนพิกำรเพื่อให้มีโอกำสได้ท�ำงำน มำตรกำรส่งเสริมควำมสำมำรถของเด็กและ
               เยำวชน แต่มำตรกำรเหล่ำนี้มิได้มุ่งเน้นที่ผลสุดท้ำยหรือผลลัพธ์ กล่ำวคือ ผลสุดท้ำยแล้วบุคคลที่อยู่ในกลุ่มเสียเปรียบดัง
               กล่ำวอำจไม่สำมำรถเข้ำถึงโอกำสนั้น ๆ ในควำมเป็นจริงได้ เช่น คนพิกำรที่ได้รับกำรส่งเสริมยังคงไม่ได้รับกำรว่ำจ้ำงเข้ำ

               ท�ำงำน นักเรียนบำงเชื้อชำติยังคงไม่มีโอกำสเข้ำเรียน ดังนั้น แนวคิดควำมเท่ำเทียมกันในผล (Equality of Outcome)
               จึงมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์โดยท�ำให้มั่นใจว่ำบุคคลในกลุ่มเสียเปรียบดังกล่ำวจะได้มำซึ่งผลที่มุ่งส่งเสริมนั้นในควำมเป็นจริง โดย

               มีกำรแทรกแซงลักษณะต่ำง ๆ เพื่อให้เกิดผลดังกล่ำว เช่น ก�ำหนดโควตำในโอกำสกำรท�ำงำน กำรศึกษำ หรือกำร
               รับบริกำรต่ำง ๆ เพื่อบุคคลกลุ่มนั้น
                                     อย่ำงไรก็ตำม จะเห็นได้ว่ำมำตรกำรที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เกิดควำมเท่ำเทียมกันทั้งควำม

               เท่ำเทียมกันในโอกำสและควำมเท่ำเทียมกันในผล ต่ำงเป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อบุคคลนอกกลุ่มที่มำตรกำรหรือนโยบำย
               นั้นมุ่งคุ้มครอง แต่ระดับกำรเลือกปฏิบัตินั้นมีควำมเข้มข้นหรือรุนแรงแตกต่ำงกัน กล่ำวคือ กำรส่งเสริมที่จุดเริ่มต้นเพื่อ
               ให้บุคคลผู้เสียเปรียบได้รับโอกำสอันเท่ำเทียมกับผู้อื่นนั้น อำจพิจำรณำได้ว่ำเป็นกำรให้สิทธิพิเศษ (Privilege) แก่บุคคล

               กลุ่มผู้เสียเปรียบโดยไม่ให้สิทธิดังกล่ำวแก่บุคคลนอกกลุ่ม แต่กระนั้น ในผลสุดท้ำยแล้วก็มิได้เป็นกำรกีดกันหรือปิดโอกำส
               ส�ำหรับบุคคลนอกกลุ่ม ในขณะที่กำรส่งเสริมควำมเท่ำเทียมกันที่จุดเป้ำหมำยหรือผลสุดท้ำย เช่น กำรก�ำหนดโควตำ
               เฉพำะบุคคลบำงกลุ่ม เป็นกำรกีดกันหรือปิดโอกำสส�ำหรับคนนอกกลุ่ม จึงท�ำให้แนวทำงนี้ถูกโต้แย้งว่ำเป็นกำรเลือก

               ปฏิบัติต่อบุคคลนอกกลุ่มในระดับที่รุนแรงกว่ำ อย่ำงไรก็ตำม อำจพิจำรณำได้ว่ำแนวคิดเกี่ยวกับควำมเท่ำเทียมกันทั้ง
               สองนี้ สอดคล้องกับควำมเท่ำเทียมกันเชิงสำระ (Substantive Equality) ซึ่งมุ่งให้เกิดควำมเท่ำเทียมกันที่เป็นจริง โดย

               มิได้พิจำรณำเฉพำะรูปแบบกำรปฏิบัติที่เหมือนกันต่อบุคคลที่เหมือนกันตำมหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรูปแบบเท่ำนั้น
               นอกจำกนี้ มำตรกำรส่งเสริมเพื่อให้เกิดควำมเท่ำเทียมกันทั้งในจุดเริ่มต้นและจุดเป้ำหมำยหรือผลสุดท้ำย อำจเทียบเคียง
               ได้กับมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative Action) ที่ได้รับกำรยอมรับตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศและกฎหมำย

               ประเทศต่ำง ๆ ประเด็นที่ยำกและยังเป็นที่วิพำกษ์วิจำรณ์ได้ก็คือ กำรสร้ำงควำมสมดุลระหว่ำงกำรก�ำหนดมำตรกำรเพื่อ
               ส่งเสริมหรือคุ้มครองบุคคลในกลุ่มเสียเปรียบโดยไม่เป็นกำรกีดกันหรือเลือกปฏิบัติต่อบุคคลนอกกลุ่มจนเกินสมควรนั่นเอง













                      175   Ibid.





                                                               301
   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307