Page 301 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 301

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





                               ควำมเสมอภำคในโอกำส อำจพิจำรณำได้จำกมุมมองเชิงเศรษฐศำสตร์ จะเห็นได้จำก Milton
                            170
          และ Rose Friedman  อธิบำยไว้ว่ำ ควำมเสมอภำคในโอกำสมิได้มีควำมหมำยตำมลำยลักษณ์อักษร ทั้งนี้ เนื่องจำก
          บุคคลบำงคนอำจเกิดมำด้วยสภำพร่ำงกำยที่แตกต่ำงกัน แต่ควำมหมำยที่แท้จริงของควำมเสมอภำคในโอกำส คือ อำชีพ

          ซึ่งเปิดโอกำสให้กับบุคคลที่มีคุณสมบัติหรือควำมสำมำรถที่เกี่ยวข้องกับงำนนั้น โดยไม่มีอุปสรรคที่เกิดจำกกำรกระท�ำ
          ตำมอ�ำเภอใจ (Arbitrary Obstacles) ซึ่งกีดกันหรือขัดขวำงควำมสำมำรถของบุคคลนั้น อุปสรรคดังกล่ำวเกิดจำกกำร
          น�ำคุณสมบัติที่ไม่เกี่ยวข้อง (Irrelevant Characteristics) เช่น เชื้อชำติ สีผิว เพศ ศำสนำ มำกีดกันโอกำสของบุคคล

                                171
          นอกจำกนี้ John Roemer   ใช้ค�ำว่ำกำรไม่เลือกปฏิบัติ (Non-Discrimination) ในกำรอธิบำยว่ำ บุคคลทุกคนที่
          ประกอบด้วยคุณสมบัติอันเกี่ยวข้อง (Relevant Attributes) กับกำรด�ำเนินกำรตำมหน้ำที่หรือต�ำแหน่งควรได้รับโอกำส

          ในกำรจัดอยู่ในกลุ่มผู้สมัครที่มีสิทธิเท่ำเทียมกัน และควำมเป็นไปได้ของกำรได้งำนหรือต�ำแหน่งของบุคคลนั้นควรถูก
          พิจำรณำจำกคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องเท่ำนั้น อย่ำงไรก็ตำม นักวิชำกำรบำงท่ำนเห็นว่ำ หลักควำมเสมอภำคในโอกำส ควร
                                                                                               172
          มีขอบเขตจ�ำกัดเฉพำะกำรห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุเฉพำะ เช่น กำรเลือกปฏิบัติด้ำนเชื้อชำติ สีผิว เป็นต้น
                               ควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำเทียมกันในโอกำส (Equality of Opportunity) จึงเป็นแนวคิด
          ที่มีวัตถุประสงค์ในกำรขจัดเสียซึ่งอุปสรรคที่จะท�ำให้บุคคลบำงกลุ่มเสียเปรียบ นอกจำกนี้ ยังหมำยควำมว่ำควรมี

          วิธีกำรในเชิงบวกเพื่อท�ำให้มั่นใจว่ำควำมเสียเปรียบนั้นจะได้รับกำรเยียวยำ กล่ำวคือ บุคคลทุกคนเริ่มต้นจำกจุดเดียวกัน
          ดังนั้น บุคคลที่เสียเปรียบ เช่น ผู้พิกำรจะได้รับกำรเยียวยำควำมเสียเปรียบเพื่อให้เข้ำสู่จุดเริ่มต้นเช่นเดียวกับผู้อื่นที่ไม่มี
                   173
          ควำมพิกำร  ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำหลักกำรส�ำคัญของแนวคิดนี้มุ่งเน้นที่ “จุดเริ่มต้น” ของกำรเข้ำสู่โอกำสต่ำง ๆ ใน
          สังคม (Starting Point) หรืออำจเปรียบเทียบกับจุดเริ่มต้นในกำรแข่งขัน (Competition) เช่น กำรสมัครเข้ำท�ำงำน
          ซึ่งอำจเกิดควำมไม่เสมอภำคหรือไม่เท่ำเทียมกัน เนื่องจำกควำมแตกต่ำงในคุณลักษณะของบุคคล โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง
          ควำมแตกต่ำงอันเกิดจำกคุณสมบัติที่ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับกำรเข้ำสู่โอกำสนั้น แนวคิดนี้จึงเสนอแนะให้รัฐเข้ำมำ

          แทรกแซงโดยกำรด�ำเนินมำตรกำรเพื่อส่งเสริมบุคคลที่เสียเปรียบให้มีควำมเสมอภำคในกำรเข้ำสู่โอกำสเช่นเดียวกับ
          บุคคลอื่น บุคคลที่เสียเปรียบนี้อำจเป็นกลุ่มคนที่เคยถูกปฏิบัติอย่ำงแตกต่ำงบนพื้นฐำนของอคติ (Prejudice) จำก
          อดีตที่ผ่ำนมำ เช่น อคติด้ำนเชื้อชำติ สีผิว เป็นต้น หรืออำจกล่ำวได้อีกนัยหนึ่งว่ำ “คุณสมบัติที่ไม่เกี่ยวข้อง” อันเป็น

          “เหตุแห่งควำมเสียเปรียบ” ดังกล่ำว ก็คือ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนนั่นเอง
                               ควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำเทียมกันในผล (Equality of Outcome) หมำยถึงกำรขจัดควำม

          ไม่เท่ำเทียมกันทั้งในจุดเริ่มต้น (Starting Point) และจุดเป้ำหมำยหรือผลสุดท้ำย (Finishing Point) กล่ำวคือ มุ่งถึงกำร
          เข้ำแทรกแซง (Intervention) ในกระบวนกำรซึ่งบุคคลด�ำเนินกำรไปเพื่อบรรลุถึงผลที่ต้องกำร ภำยใต้แนวคิดนี้ จะพบ
          ว่ำมำตรกำร นโยบำย กฎเกณฑ์ ที่มีลักษณะแทรกแซงดังกล่ำว เกิดขึ้นเพื่อให้บุคคลผู้ด้อยโอกำสหรือเสียเปรียบไปถึงผล

                                        174
          สุดท้ำยได้เท่ำเทียมกันกับบุคคลอื่น ๆ  เช่น มำตรกำรก�ำหนดโควตำส�ำหรับผู้หญิงในต�ำแหน่งบริหำรขององค์กรหรือ
          หน่วยงำนบำงแห่ง เพื่อให้มั่นใจว่ำผลสุดท้ำยแล้วผู้หญิงจ�ำนวนหนึ่งจะต้องสำมำรถเข้ำสู่ต�ำแหน่งนั้น มำตรกำรก�ำหนด




                 170   From Free to choose: a personal statement by Milton Friedman and Rose D. Friedman, 1998, Mariner
          Books
                 171   From Equality of Opportunity by John Roemer, 1998, Harvard University Press
                 172   From Against Equality of Opportunity by Matt Cavanagh, 2002, Oxford: Clarendon Press
                 173   From Discrimination and the law (p 3-5) by Malcolm Sargeant, UK: Routledge

                 174   lbid



                                                         300
   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306