Page 299 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 299
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
EQUALITY
ในบริบทของควำมแตกต่ำงทำงเพศตำมกฎหมำยสหรัฐอเมริกำนั้น พบว่ำในช่วงแรกฝ่ำยสิทธิ
สตรีเรียกร้องให้มีกำรปฏิบัติต่อหญิงเท่ำเทียมกับชำยโดยเน้นกำรปฏิบัติที่เหมือนกัน อันสอดคล้องกับหลักควำมเสมอภำค
เชิงรูปแบบ แต่ในระยะต่อมำมีกำรเรียกร้องให้ปฏิบัติที่แตกต่ำงกันรวมทั้งเรียกร้องให้มีกำรก�ำหนดกฎหมำยที่ปฏิบัติต่อ
ผู้หญิงเป็นพิเศษด้วยเหตุผลเพื่อปกป้องคุ้มครองโดยเฉพำะในมิติกำรจ้ำงแรงงำน เนื่องจำกกำรปฏิบัติต่อลูกจ้ำงชำยและ
166
หญิงเหมือนกันกลับส่งผลให้เกิดกำรเอำเปรียบลูกจ้ำงหญิง ตัวอย่ำงเช่น ศำลสูงสุดตัดสินว่ำ กฎหมำยที่ก�ำหนดเวลำ
ท�ำงำนของผู้หญิงในอุตสำหกรรมซักรีดนั้นใช้บังคับได้ โดยให้เหตุผลว่ำ ผู้หญิงมักจะพึ่งพำผู้ชำยและสภำพทำงกำยภำพ
ของผู้หญิงตลอดจนบทบำทควำมเป็นแม่ได้ท�ำให้เพศหญิงเสียเปรียบในกำรดิ้นรนเพื่อกำรมีชีวิต โดยเฉพำะในกรณีที่
เกี่ยวกับภำระควำมเป็นมำรดำ ดังนั้น กำรด�ำรงสภำพทำงกำยที่สมบูรณ์ของผู้หญิงจัดเป็นผลประโยชน์สำธำรณะอย่ำง
หนึ่งที่รัฐควรปกป้องคุ้มครอง จะเห็นได้ว่ำคดีนี้ศำลรับรองกฎหมำยที่สะท้อนแนวคิดปกป้องคุ้มครอง อย่ำงไรก็ตำมใน
167
บำงคดี ศำลตัดสินว่ำกฎหมำยในลักษณะปกป้องคุ้มครองเพศหญิง (ก�ำหนดค่ำจ้ำงขั้นต�่ำส�ำหรับผู้หญิงโดยเฉพำะ) นั้น
ไม่ชอบด้วยกฎหมำยเนื่องจำกเป็นกำรขัดต่อเสรีภำพในกำรท�ำสัญญำของผู้หญิง
ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำแนวคิดควำมเสมอภำคภำยใต้กำรปกป้องคุ้มครอง แม้ว่ำในแง่หนึ่งจะเป็น
แนวทำงส�ำหรับกำรแก้ไขปัญหำของกำรพิจำรณำควำมเสมอภำคเชิงรูปแบบโดยไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำงกันระหว่ำง
บุคคล แต่ในอีกแง่หนึ่งก็อำจพิจำรณำได้ว่ำอยู่บนพื้นฐำนของแนวคิดที่มองบุคคลบำงกลุ่มในลักษณะด้อยกว่ำบุคคลอีก
กลุ่มหนึ่ง ลักษณะของแนวคิดเช่นนี้เกี่ยวข้องกับ “กำรสร้ำงภำพเหมำรวม” (Stereotyping) ดังจะได้จ�ำแนกพิจำรณำ
ต่อไป นอกจำกนี้ กฎหมำยในลักษณะปกป้องคุ้มครองยังอำจกระทบเสรีภำพหรือสิทธิด้ำนอื่นของบุคคลที่กฎหมำย
มุ่งคุ้มครองได้ ดังเช่นคดีในสหรัฐอเมริกำดังกล่ำวข้ำงต้น
๔.๕.๑.๕ ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมเชิงสาระ (Substantive Equality)
ตำมแนวคิดควำมเท่ำเทียมกันในเชิงรูปแบบ ส่งผลให้เกิดกำรปฏิบัติต่อบุคคลทุกคนเหมือนกัน
โดยไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำง หรือที่เรียกว่ำกำรปฏิบัติที่เหมือนกันต่อกรณีที่เหมือนกัน (Equal Treatment of Equal
Cases) ซึ่งแนวคิดนี้มีควำมสัมพันธ์กับการห้ามเลือกปฏิบัติโดยตรง (Direct Discrimination) อย่ำงไรก็ตำม กำร
พิจำรณำควำมเท่ำเทียมกันในเชิงรูปแบบนี้อำจท�ำให้เกิดปัญหำควำมไม่เท่ำเทียมกันในผลที่เกิดหรือในสภำพควำมเป็น
จริง (De Facto Equality) เนื่องจำกมิได้พิจำรณำควำมแตกต่ำงในสำระส�ำคัญ (Material Difference) ระหว่ำงสองสิ่ง
ที่น�ำมำเปรียบเทียบกันนั้น ตัวอย่ำงเช่น กำรก�ำหนดกฎเกณฑ์ นโยบำย หรือมำตรฐำน ที่เป็นกลำงหรือเป็นสำกลเพื่อใช้
กับบุคคลทุกคนเหมือนกัน (Universal Standard) อำจส่งผลให้บุคคลบำงกลุ่มเสียเปรียบและถูกกีดกันจำกโอกำสต่ำง ๆ
166 From “Muller v. Oregon” 208 U.S. 412 (1908)” p 421-422
167 From “Adkins v. Children’s Hospital” 261 U.S. 525 (1922) p 546–553
298