Page 300 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 300

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





               ในสังคมได้ เช่น กำรก�ำหนดเกณฑ์รับสมัครงำนเหมือนกัน แต่กลับส่งผลให้คนพิกำรไม่สำมำรถมีโอกำสสมัครงำนได้
               ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดกำรพิจำรณำควำมเท่ำเทียมกันเชิงสำระ เพื่อลดผลกระทบอันท�ำให้บุคคลเสียเปรียบดังกล่ำว กำร
               พิจำรณำควำมเท่ำเทียมกันในแง่มุมนี้ มีควำมสัมพันธ์กับแนวคิดควำมเท่ำเทียมกันภำยใต้กำรปกป้องคุ้มครองดังกล่ำว

               ข้ำงต้น นอกจำกนี้ ยังมีควำมสัมพันธ์กับการเลือกปฏิบัติโดยอ้อม (Indirect Discrimination) ด้วย ดังนั้น กำรก�ำหนด
               กฎเกณฑ์ที่แตกต่ำงกันเพื่อให้เกิดผลเท่ำเทียมในเชิงสำระนี้ จึงสำมำรถท�ำได้โดยไม่ขัดต่อหลักควำมเสมอภำค เนื่องจำก
               สำมำรถอธิบำยได้ด้วยเหตุผลของควำมจ�ำเป็นในกำรปกป้องคุ้มครองบุคคลที่แตกต่ำงกัน อย่ำงไรก็ตำม ในอีกแง่หนึ่งยัง

               อำจมีมุมมองที่โต้แย้งว่ำ ควำมเท่ำเทียมกันภำยใต้กำรปกป้องคุ้มครองอันน�ำไปสู่ควำมเท่ำเทียมกันในเชิงสำระนี้ อยู่บน
               พื้นฐำนกำรพิจำรณำว่ำบุคคลบำงคนหรือบำงกลุ่ม มีควำมด้อยกว่ำ (Inferior) เมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง

               จึงสะท้อนถึงแนวคิดของกำรพิจำรณำบุคคลที่ไม่เท่ำเทียมกันอยู่นั่นเอง ตัวอย่ำงเช่น กำรก�ำหนดให้ลูกจ้ำงชำยเท่ำนั้น
               ที่จะท�ำงำนกะกลำงคืน ด้วยเหตุผลเพื่อปกป้องคุ้มครองลูกจ้ำงหญิงจำกภยันตรำยที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรเดินทำงในเวลำ
               กลำงคืน หำกพิจำรณำในอีกแง่หนึ่งจะเห็นได้ว่ำ กฎเกณฑ์นี้อยู่บนพื้นฐำนแนวคิดว่ำผู้หญิงเป็นเพศอ่อนแอ (Weakness)

               กล่ำวคือ กฎเกณฑ์หรือกำรปฏิบัติลักษณะนี้มิได้มองว่ำสำเหตุที่แท้จริงของปัญหำอันน�ำมำสู่กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้น
               เกิดจำก “สภำพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย” แต่กลับมองว่ำ “ผู้หญิงมีสภำพร่ำงกำยที่อ่อนแอและเปรำะบำง” กำรปฏิบัติ

               เช่นนี้ยิ่งเป็นกำรตอกย�้ำว่ำลูกจ้ำงหญิงมีสถำนะที่ด้อยกว่ำ (Subordinate) เมื่อเปรียบเทียบกับลูกจ้ำงชำย ด้วยเหตุนี้
               จึงเกิดข้อโต้แย้งว่ำ ในท้ำยที่สุดแล้ว ควำมเท่ำเทียมกันที่แท้จริงจึงยังไม่อำจบรรลุได้



                            ๔.๕.๑.๖ ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในโอกาส (Equality of Opportunity) และ ความ
               เสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในผล (Equality of Outcome)
                                     พัฒนำกำรของแนวคิดเกี่ยวกับควำมเสมอภำคในโอกำส (Equality of Opportunity) หรือ

               อำจเรียกว่ำ ควำมเสมอภำคในกำรเข้ำถึง (Equality of Access) มีควำมเกี่ยวเนื่องกับกำรเข้ำสู่โอกำสในกำรจ้ำง
               แรงงำน (Employment Opportunity) โดยเน้นย�้ำถึงควำมส�ำคัญของกำรพิจำรณำคุณสมบัติและควำมสำมำรถของ
               บุคคลมำกกว่ำกำรน�ำ “ปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้อง” เช่น เชื้อชำติ สีผิว ควำมเป็นชนกลุ่มน้อย ฯลฯ มำประกอบกำรตัดสินใจ

               เกี่ยวกับกำรเข้ำถึงโอกำสในกำรท�ำงำนของบุคคลนั้น ในบริบทของกำรเข้ำถึงโอกำสในกำรจ้ำงงำนนั้น กำรด�ำเนินกำร
               ที่สอดคล้องกับแนวคิดนี้ เช่น กำรประกำศกำรรับสมัครงำนอย่ำงเปิดเผยโดยให้โอกำสผู้สมัครทุกคนอย่ำงเท่ำเทียม

               กัน (Open call) กำรพิจำรณำตัดสินคัดเลือกผู้สมัครงำนจำกเกณฑ์หรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับต�ำแหน่งงำนนั้นโดยไม่น�ำ
                                                                         168
               ปัจจัยอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชำติ สีผิว มำประกอบ (Fair Judging)  อย่ำงไรก็ตำม แนวคิดนี้ขยำยขอบเขตไปยัง
               ควำมเสมอภำคในกำรเข้ำถึงโอกำสในมิติอื่น ๆ ของสังคมด้วย เช่น กำรศึกษำ กำรเป็นสมำชิกสมำคม กำรเข้ำถึงบริกำร

               สำธำรณะ เป็นต้น แนวคิดนี้มุ่งเน้นถึงควำมเป็นธรรมในกระบวนกำร (Fair Process) เพื่อกำรเข้ำถึงโอกำสต่ำง ๆ ที่จะ
                                                                              169
               ไม่น�ำเอำปัจจัยซึ่งไม่เกี่ยวข้องมำท�ำให้บุคคลเสียโอกำสในกำรเข้ำถึงโอกำสนั้น








                      168    From Encyclopedia of Political Theory (p 452-453) Mark Bevir Edition (2010), Sage Publications
                      169   From International Encyclopedia of Social Science: Equal Opportunity by Nicole Richard and Torrey
               Shanks, 2008.





                                                               299
   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305