Page 296 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 296
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
๔.๕.๑.๒ ความเสมอภาคเชิงระบบหรือโครงสร้าง (Systemic Equality)
ดังที่กล่ำวมำแล้วว่ำ ควำมเสมอภำคอย่ำงเป็นสำกลนั้นอยู่บนพื้นฐำนของกำรปฏิบัติต่อบุคคล
เหมือนกันโดยไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำง ซึ่งอำจส่งผลกระทบให้บุคคลบำงกลุ่มเสียเปรียบหรือเสียโอกำส ดังนั้น กำรปฏิบัติ
เหมือนกันซึ่งน�ำไปสู่ควำมเท่ำเทียมกันอย่ำงเป็นสำกลจึงส่งผลกระทบให้เกิด “ควำมไม่เสมอภำคเชิงโครงสร้ำงหรือเชิง
ระบบ” (Structural or Systemic Inequality) ซึ่งหมำยถึงสภำพซึ่งบุคคลกลุ่มหนึ่งต้องตกอยู่ในสถำนะที่ไม่เท่ำเทียม
กันกับบุคคลกลุ่มอื่น ควำมไม่เท่ำเทียมกันระหว่ำงบุคคลสองกลุ่มนี้อำจพิจำรณำได้จำกควำมสัมพันธ์ที่ไม่เท่ำเทียมกันใน
159
บทบำท หน้ำที่ กำรตัดสินใจ สิทธิ และโอกำส ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำควำมไม่เสมอภำคเชิงโครงสร้ำงมีรำกฐำนมำจำก
แนวปฏิบัติปกติหรือประจ�ำของสถำบันทำงสังคมต่ำง ๆ โดยอำจจ�ำแนกได้หลำยประเภท เช่น กำรจ�ำแนกบุคคลตำมถิ่น
160
ที่อยู่ กำรเลือกปฏิบัติด้ำนกำรจ้ำงงำนและกำรศึกษำ เป็นต้น ทั้งนี้ เนื่องจำกตำมลักษณะทั่วไปทำงสังคมนั้น จะมีกำร
161
จ�ำแนกบุคคลตำมบทบำท ในกำรจ�ำแนกดังกล่ำวส่งผลให้มีบำงบทบำทเป็นที่ต้องกำรมำกกว่ำบทบำทอื่น สภำพและ
ลักษณะทำงสังคมดังกล่ำวส่งผลให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมกันได้
จำกข้อจ�ำกัดของแนวคิดควำมเสมอภำคอย่ำงเป็นสำกลดังกล่ำว น�ำไปสู่แนวคิดควำม
ไม่เท่ำเทียมกันเชิงระบบหรือเชิงโครงสร้ำง ซึ่งเน้นว่ำควำมไม่เท่ำเทียมกันเกิดจำกกำรปฏิบัติซ�้ำ ๆ กันต่อกลุ่มทำงสังคม
บำงกลุ่มที่แตกต่ำงกัน แม้ว่ำจะเกิดขึ้นโดยปรำศจำกรูปแบบของกำรเลือกปฏิบัติที่ชัดเจนหรือโดยเจตนำก็ตำม แต่ในท้ำย
ที่สุดได้ส่งผลท�ำให้เกิดรูปแบบควำมไม่เสมอภำคส�ำหรับกลุ่มบุคคลนั้น ๆ (Group-Patterned Inequalities) หรืออำจ
เรียกว่ำเกิดสภำวะที่บุคคลกลุ่มครอบง�ำ (Dominant Group) กีดกันบุคคลอีกกลุ่มหนึ่งให้เป็นกลุ่มชำยขอบ (Margin-
alized Group) ซึ่งควำมไม่เท่ำเทียมที่บุคคลกลุ่มนี้ได้รับนั้น ครอบคลุมมิติต่ำง ๆ ทำงสังคม เช่น กำรศึกษำ สถำนะทำง
สังคม สุขภำพ คุณภำพชีวิต ควำมเป็นมำรดำ หรือกำรมีส่วนในทำงกำรเมือง ยิ่งไปกว่ำนั้นควำมไม่เท่ำเทียมกันเชิงระบบ
นี้ เมื่อเกิดขึ้นในมิติใดของสังคมแล้วจะสำมำรถส่งผลให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมกันในมิติอื่นของสังคมได้อีก รวมทั้งส่งผล
162
ต่อเนื่องจำกคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งด้วย นอกจำกนี้ ในทำงสังคมวิทยำยังได้มีควำมพยำยำมในกำรจ�ำแนกควำมไม่
เท่ำเทียมกัน (Inequality) ออกเป็นสองประเภท คือ อคติส่วนบุคคล (Individual Bias) ซึ่งหมำยถึงควำมคิดควำมเชื่อใน
ทำงลบของบุคคลต่อบุคคลอื่น และควำมไม่เท่ำเทียมเชิงระบบ (Systemic Inequality) ซึ่งพิจำรณำจำกผลที่เกิดขึ้นอย่ำง
ไม่เท่ำเทียมกันอันเกิดจำกสถำบันทำงสังคม ผลดังกล่ำวนี้ยังคงสำมำรถเกิดขึ้นได้แม้ปรำศจำกอคติส่วนบุคคลของบุคคล
ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำเทียมกันมีควำมหมำยหลำยนัย โดยพื้นฐำน
ทั่วไปแล้ว ควำมเสมอภำคหมำยถึงกำรปฏิบัติต่อบุคคลเหมือนกันโดยไม่ค�ำนึงว่ำบุคคลที่ถูกปฏิบัตินั้นจะมีควำมแตกต่ำง
กันอย่ำงไร โดยนัยนี้กำรปฏิบัติที่เท่ำเทียมกันหรือไม่เลือกปฏิบัติ อำจไม่ส่งผลให้เกิดควำมเท่ำเทียมกัน ในทำงตรงข้ำม
ยังอำจส่งผลให้กลุ่มบุคคลบำงกลุ่มเสียเปรียบกลุ่มอื่น ส�ำหรับควำมหมำยของควำมเสมอภำคเชิงระบบหรือเชิง
โครงสร้ำงนั้นมิได้มุ่งเน้นที่กำรปฏิบัติซึ่งต้องเหมือนกัน แต่มุ่งผลที่ท�ำให้บุคคลผู้มีควำมแตกต่ำงกันได้รับควำมเท่ำเทียม
159
From Inclusive States: Social Policy and Structural Inequalities (p. 3) by Anis A. Dani and Arjan de Haan,
Edition 2008, Washington, D.C: World Bank
160
From Poverty and Power: the Problem of Structural Inequality (p 217) by Edward Cary Royce, 2009,
Lanham: Rowman & Littlefield
161
From Stanford Encyclopedia of Philosophy: Equality of Opportunity by Richard J. Arneson (2008)
162
From Voice, Trust, and Memory: Marginalized groups and the Failings of liberal representation (p 175-
178) by Melissa S. Williams,1998, Princeton University Press
295