Page 295 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 295
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
๔.๕.๑ แนวคิดทฤษฎีของหลักความเสมอภาคหรือหลักความเท่าเทียมกัน
โดยทั่วไปแล้ว ควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำเทียมกันมีควำมเกี่ยวข้องกับศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์
(Human Dignity) กล่ำวคือ กำรปฏิบัติต่อบุคคลในลักษณะที่เคำรพถึงศักดิ์ศรีดังกล่ำวจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีกำรตระหนัก
ถึงคุณสมบัติร่วมกันของควำมเป็นมนุษย์ (Common Humanity) โดยปฏิบัติต่อบุคคลอย่ำงเท่ำเทียมกัน ซึ่งสอดคล้อง
155
กับแนวคิดที่ว่ำมนุษย์ทุกคนมีคุณค่ำอยู่ในตัวเอง (Intrinsic Value) หำกบุคคลคนหนึ่งไม่ได้รับกำรปฏิบัติที่เหมือน
หรือเท่ำเทียมกันกับบุคคลอื่น กำรปฏิบัติดังกล่ำวนั้นก็ไม่สอดคล้องกับกำรเคำรพศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ ดังนั้น
กำรเคำรพศักดิ์ศรีของมนุษย์จึงหมำยถึงกำรเคำรพหรือยอมรับควำมแตกต่ำงของบุคคลซึ่งเกิดจำกเหตุต่ำง ๆ เช่น เพศ
เชื้อชำติ สีผิว ฯลฯ ทั้งนี้ เนื่องจำกไม่ว่ำบุคคลคนหนึ่งจะมีเชื้อชำติ สีผิว เพศใดก็ตำม แต่ก็มีควำมเป็นมนุษย์เช่นเดียวกัน
ด้วยเหตุนี้ควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำเทียมกันจึงจัดเป็นสิทธิมนุษยชนที่ส�ำคัญประกำรหนึ่ง อย่ำงไรก็ตำม ในเชิงแนวคิด
ทฤษฎีนั้น หลักควำมเสมอภำคหรือควำมเท่ำเทียมกันนี้อำจพิจำรณำได้หลำยมุมมอง โดยอำจจ�ำแนกได้ดังต่อไปนี้
๔.๕.๑.๑ ความเสมอภาคอย่างเป็นสากล (Universal Equality)
หลักกำรพื้นฐำนของควำมเสมอภำคคือกำรที่บุคคลแต่ละบุคคลได้รับกำรปฏิบัติที่เหมือนกัน
โดยไม่ค�ำนึงถึงปัจจัยหรือเหตุแห่งควำมแตกต่ำงของบุคคลเหล่ำนั้น โดยนัยนี้จึงอำจเรียกว่ำควำมเสมอภำคอย่ำงเป็น
สำกล หรือคุณค่ำพื้นฐำนร่วมกันของควำมเป็นมนุษย์ที่ไม่อำจวัดได้ (Common and Immeasurable Human Worth)
ดังนั้น จำกแนวควำมคิดนี้ส่งผลให้เกิดหลักกำร “ปฏิบัติต่อบุคคลโดยไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำง” (Treating People in
156
a Difference-Blind Fashion) อันเป็นพื้นฐำนที่น�ำไปสู่หลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ควำม
เสมอภำคอย่ำงเป็นสำกลดังกล่ำวนั้น ด้วยกำรห้ำมปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันด้วยเหตุที่บุคคลเหล่ำนั้นมีสีผิว เชื้อชำติ
157
ศำสนำ ที่แตกต่ำงกัน
อย่ำงไรก็ตำม ควำมเสมอภำคอย่ำงเป็นสำกลซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐำนของหลักกำร “ปฏิบัติต่อ
บุคคลโดยไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำง” นี้ยังอำจไม่เพียงพอที่จะส่งเสริมให้เกิดควำมเท่ำเทียมกันได้ นักวิชำกำรหลำยท่ำน
ชี้ให้เห็นว่ำ หลักควำมเสมอภำคดังกล่ำวไม่ครอบคลุมถึงควำมไม่เสมอภำคเชิงระบบ (Systemic Inequality) ซึ่งเกิดขึ้น
กับกลุ่มบุคคลบำงกลุ่มที่ด้อยโอกำสกว่ำกลุ่มอื่น หำกใช้หลักกำรปฏิบัติอย่ำงเท่ำเทียมกันโดยไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำง
158
ของบุคคลแต่ละกลุ่มแล้วจะส่งผลให้เกิดกำรเลือกปฏิบัติขึ้นได้เช่นเดียวกัน หำกพิจำรณำในกรอบของกำรเลือกปฏิบัติ
แล้วจะเห็นได้ว่ำ หลักควำมเท่ำเทียมกันอย่ำงเป็นสำกล สอดคล้องกับหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติโดยตรง ซึ่งมุ่งเน้นกำร
พิจำรณำกำรเลือกปฏิบัติจำกกรณีกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันต่อสิ่งที่มีสำระส�ำคัญเหมือนกัน
155 From Life’s Dominion: An Argument about Abortion, Euthanasia, and Individual Freedom by Ronald
Dworkin, 1993, New York: Knopf
156 From The Recognition Principle: A Philosophical Perspective between Psychology, Sociology and
Politics (p 57-58) by Vinicio Busacchi 2015 ,Cambridge Scholars Publishing
157 From Rethinking Non-Discrimination and Minority Rights “Is Multicultralism Bad for the Fight against
Multiculturalisim? by Timo Makkonen (p 155-158)” by Martin Scheinin & Reetta Toivanen Edition.2004
158 From Conceptual Issues “Do We Need Minority Rights?: Memory, History and Membership The Moral
Claims of Marginalized Groups in Political Representation by Melissa S. Williams” by J Räikkä Edition,1996, The
Hague, Martinus Nijhoff
294