Page 294 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 294
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
เลือกปฏิบัติตำมมำตรำ ๙ แห่งพระรำชบัญญัติจัดตั้งศำลปกครองและวิธีพิจำรณำคดีนั้น เป็นกำรพิจำรณำภำยใต้แนวคิด
ของคดีปกครอง แต่กำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศนั้นเป็นกำรพิจำรณำภำยใต้แนวคิดสิทธิมนุษยชน
ส�ำหรับในบริบทของรัฐธรรมนูญนั้น พบว่ำหลักควำมเท่ำเทียมกันและกำรห้ำมเลือกปฏิบัติตำม
รัฐธรรมนูญของไทย สะท้อนถึงเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน แต่ในกำรกล่ำวอ้ำงนั้นมีหลำยกรณี
ที่ประเด็นพิพำทมิได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น เชื้อชำติ ศำสนำ เพศ ฯลฯ โดยผู้ร้องมักจะเปรียบ
เทียบสิ่งที่ตนคิดว่ำ “เหมือนกัน” แต่ได้รับกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน และอ้ำงว่ำมีกำรเลือกปฏิบัติ นอกจำกนี้ ยังมีกรณีที่
ผู้ร้องเห็นว่ำตนเองไม่ได้รับควำมเป็นธรรมในภำพรวมแต่ก็กล่ำวอ้ำงว่ำมีกำรเลือกปฏิบัติ อย่ำงไรก็ตำม โดยรวมแล้วศำล
รัฐธรรมนูญวินิจฉัยกำรกล่ำวอ้ำงที่กว้ำงกว่ำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติว่ำไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ แต่ในหลำย
คดีมิได้ให้เหตุผลโดยเจำะจงลงไปว่ำกรณีเหล่ำนั้นไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ
นอกจำกนี้ จะเห็นได้ว่ำ แม้หลักควำมเท่ำเทียมกันและหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ
ของไทย จะสะท้อนถึงเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน แต่กำรคุ้มครองผู้ถูกเลือกปฏิบัติตำม
รัฐธรรมนูญในส่วนของศำลรัฐธรรมนูญนั้น ก็มีขอบเขตจ�ำกัด คือ สำมำรถยกขึ้นกล่ำวอ้ำงเฉพำะกรณีภำคเอกชนอ้ำง
ยันต่อรัฐ เช่น อ้ำงว่ำกฎหมำยใดขัดหรือแย้งต่อหลักห้ำมเลือกปฏิบัติ ดังนั้น กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันในมิติกำรกระท�ำ
ระหว่ำงเอกชนด้วยกัน ก็ไม่สำมำรถยกขึ้นเป็นคดีต่อศำลรัฐธรรมนูญได้ อย่ำงไรก็ตำม จำกหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ
ตำมรัฐธรรมนูญส่งผลให้ภำครัฐมีหน้ำที่ต้องตรำกฎหมำยเฉพำะขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกเลือกปฏิบัติในมิติต่ำง ๆ
ที่ยังไม่มีกฎหมำยครอบคลุมอยู่
ส�ำหรับกรณีค�ำร้องและกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนในกรอบของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
แห่งชำตินั้น พบว่ำมีหลำยกรณีที่ผู้ร้องอ้ำงว่ำมีกำร “เลือกปฏิบัติ” เกิดขึ้น ซึ่งมักเป็นกรณีกำรน�ำข้อเท็จจริงสองข้อเท็จ
จริงมำเปรียบเทียบกันว่ำมีกำรปฏิบัติต่อข้อเท็จจริงดังกล่ำวแตกต่ำงกัน อย่ำงไรก็ตำม หำกพิจำรณำภำยใต้กรอบของ
กฎหมำยสิทธิมนุษยชนแล้วจะเห็นได้ว่ำในหลำยกรณีตำมค�ำร้องนั้น กำรปฏิบัติแตกต่ำงกันดังกล่ำวไม่มีความเกี่ยวข้อง
กับ “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน หรืออำจพิจำรณำว่ำเป็นกำรอ้ำงเหตุที่กว้ำงกว่ำกฎหมำย
สิทธิมนุษยชน อย่ำงไรก็ตำม แม้ว่ำกำรปฏิบัติแตกต่ำงดังกล่ำวจะไม่อยู่ภำยใต้กรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับ
การห้ามเลือกปฏิบัติ ก็ยังตกอยู่ในขอบเขตอ�ำนำจกำรตรวจสอบของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติได้ เพรำะ
อำจเป็นกำรกระทบ “สิทธิมนุษยชน” ในแง่อื่น ๆ ของผู้ร้อง ที่ได้รับกำรรับรองหรือคุ้มครองตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำช
อำณำจักรไทย หรือตำมกฎหมำยไทย หรือตำมสนธิสัญญำที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตำม เช่น กำรปฏิบัติ
ที่แตกต่ำงกันอันกระทบต่อเสรีภำพในกำรแสดงออกทำงศำสนำ กำรปฏิบัติที่กระทบต่อศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์
เสรีภำพในกำรสื่อสำร เป็นต้น
๔.๕ หลักความเสมอภาคหรือหลักความเท่าเทียมกัน (Principle of Equality)
หลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติมีควำมสัมพันธ์กับหลักควำมเสมอภำคหรือหลักควำมเท่ำเทียมกัน (Principle of
Equality) โดยอำจพิจำรณำได้ว่ำกำรห้ำมเลือกปฏิบัติเป็นหลักกำรย่อยอันเป็นวิถีทำงที่จะน�ำไปสู่ควำมเท่ำเทียมกัน อัน
ปรำกฏในกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศ และรัฐธรรมนูญประเทศต่ำง ๆ ในส่วนนี้จะได้ท�ำกำรศึกษำหลักควำม
เสมอภำคหรือหลักควำมเท่ำเทียมกัน โดยเริ่มจำกควำมหมำยในเชิงแนวคิดทฤษฎี (หัวข้อ ๔.๕.๑) จำกนั้นจะศึกษำ
ควำมหมำยตำมกฎหมำยของประเทศต่ำง ๆ (หัวข้อ ๔.๕.๒) เพื่อกำรวิเครำะห์เปรียบเทียบโครงสร้ำงกำรก�ำหนดควำม
เท่ำเทียมกันตำมกฎหมำย (หัวข้อ ๔.๕.๓) และน�ำไปสู่กำรวิเครำะห์เปรียบเทียบกับกฎหมำยไทยต่อไป (หัวข้อ ๔.๕.๔)
293