Page 292 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 292
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
กรณีผู้ร้องยื่นค�ำร้องขอรับเงินกรณีบุตรกลำยเป็นผู้พิกำรต่อส�ำนักงำนสำธำรณะสุขจังหวัด แต่ยัง
ไม่มีกำรพิจำรณำ จึงร้องเรียนให้ตรวจสอบ (ค�ำร้องที่ ๕๙๒/๒๕๕๖)
กรณีกำรเปรียบเทียบกำรด�ำเนินกำรในกระบวนกำรยุติธรรมว่ำมีควำมแตกต่ำงกันส�ำหรับกรณี
ข้อเท็จจริงที่เหมือนกัน เช่น ผู้ร้องอ้ำงว่ำมีกำรแจ้งข้อหำผู้ร้องแต่ไม่แจ้งข้อหำคู่กรณีในเหตุกำรณ์เดียวกัน (ค�ำร้องที่
๗๔/๒๕๕๕)
กรณีกำรอ้ำงว่ำได้รับควำมไม่เป็นธรรมในกำรด�ำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่ในกระบวนกำรยุติธรรม เช่น
ร้องว่ำ “เจ้ำหน้ำที่ได้กระท�ำหรือละเลยกำรกระท�ำอันเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณีปลอมแปลงลำยมือชื่อในบันทึก
ตรวจยึดในชั้นจับกุม และไม่บันทึกรำยกำรทรัพย์สินที่ตรวจยึดไว้ เป็นเหตุให้ทรัพย์สินสูญหำย” (ค�ำร้องที่ ๒๖๑/๒๕๕๕
กรณีเช่นนี้อำจพิจำรณำได้ในหลำยมิติ กล่ำวคือ หำกข้อเท็จจริงปรำกฏว่ำ กำรไม่ได้รับควำมเป็นธรรม
กำรไม่ได้รับกำรเยียวยำในกำรด�ำเนินกระบวนกำรดังกล่ำว เกิดจำกกำรกระท�ำของเจ้ำหน้ำที่รัฐที่มิชอบด้วยกฎหมำย
ก็อำจเกี่ยวข้องกับกฎหมำยอื่น เช่น กฎหมำยปกครอง ประมวลกฎหมำยอำญำ อย่ำงไรก็ตำม ในมิติของสิทธิมนุษยชนนั้น
อำจจ�ำแนกได้สองกรณี คือ
กรณีแรก กรณีที่เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติ กล่ำวคือ หำกปรำกฏว่ำกำรเรียกร้องสิทธิใน
กระบวนกำรตำมกฎหมำยมีกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น สืบเนื่องจำกกำรที่ผู้ร้องเกี่ยวข้อง
กับเหตุด้ำนเชื้อชำติ ศำสนำ ฯลฯ อำจเกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนได้
กรณีที่สอง แม้ว่ำจะไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติดังกล่ำว หำกปรำกฏว่ำกำรเรียกร้องตำม
กระบวนกำรนั้นได้รับกำรปฏิเสธ ล่ำช้ำ ไม่เป็นไปตำมกฎหมำย อำจเกี่ยวข้องกับกำรละเมิด สิทธิของบุคคลในกระบวนการ
ยุติธรรม ที่ได้รับกำรรับรองตำมรัฐธรรมนูญอันอยู่ในขอบเขตอ�ำนำจตรวจสอบของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่ง
ชำติ ตัวอย่ำงเช่น กรณีผู้ร้องอ้ำงว่ำตนและบุตรที่เกิดในประเทศไทย มีบัตรประจ�ำตัวบุคคลที่ไม่มีสถำนะทำงทะเบียน
ผู้ร้องต้องกำรให้บุตรมีสัญชำติไทยจึงร้องเรียนต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ กรณีนี้คณะกรรมกำรสิทธิ
มนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำ “..หากพบว่าหน่วยงานปฏิเสธไม่ด�าเนินการหรือกระบวนการพิจารณาล่าช้า หรือปฏิบัติที่
ไม่เป็นไปตามที่กฎหมายก�าหนด อันเป็นการกระท�าหรือละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน นาย ว.
สามารถยื่นค�าร้องต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด�าเนินการตรวจสอบใหม่ได้..” (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ
ที่ ๙๕๒/๒๕๕๘) โดยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติมีอ�ำนำจตรวจสอบว่ำกระบวนกำรที่กล่ำวอ้ำงในค�ำร้องนั้น
มีกำรละเมิดสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรมหรือไม่ มีกำรด�ำเนินกำรตำมขั้นตอนที่กฎหมำยก�ำหนดแล้วหรือไม่ (รำยงำน
ผลกำรพิจำรณำ ที่ ๓๗๕/๒๕๕๗)
จำกกำรจ�ำแนกทั้ง ๔ กรณีข้ำงต้น อำจสรุปได้ว่ำ กรณีที่มีกำรกล่ำวอ้ำงว่ำเกิด “กำรเลือกปฏิบัติ” แต่
เมื่อพิจำรณำในกรอบกฎหมำยสิทธิมนุษยชนแล้วเป็นกรณีกำรปฏิบัติในลักษณะเป็นกลำง (Neutral) ที่มีผลกับทุกคน หรือ
เป็นกรณีกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน แต่ก็ยังอำจอยู่ใน
ขอบเขตอ�ำนำจกำรตรวจสอบของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติได้ เพรำะอำจเป็นกำรกระทบ “สิทธิมนุษยชน”
ในแง่อื่น ๆ ของผู้ร้อง “ที่ได้รับกำรรับรองหรือคุ้มครองตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย หรือตำมกฎหมำยไทย
หรือตำมสนธิสัญญำที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตำม” เช่น กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันอันกระทบต่อเสรีภำพ
ในกำรแสดงออกทำงศำสนำ สิทธิเสรีภำพทำงกำรศึกษำ ศักดิ์ศรีของมนุษย์ สิทธิในควำมเป็นอยู่ส่วนตัว เสรีภำพ
ในกำรสื่อสำร สิทธิของบุคคลในกระบวนกำรยุติธรรม เป็นต้น
291