Page 290 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 290
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
นอกจำกนี้ ยังมีกรณีค�ำร้องเกี่ยวกับกำรน�ำข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ร้องมำแถลงข่ำวต่อสื่อมวลชน (ค�ำร้อง ๓๖๒/๒๕๕๖,
รำยงำนผลกำรพิจำรณำที่ ๕๐๖/๒๕๕๗) กรณีเช่นนี้จะเห็นได้ว่ำ ไม่ปรำกฏข้อเท็จจริงว่ำมีกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วย
เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน แต่เกี่ยวข้องกับกำรกระทบสิทธิมนุษยชนประกำรอื่น โดยเฉพำะ
สิทธิในควำมเป็นอยู่ส่วนตัว
๒. กรณีที่อาจคาบเกี่ยวระหว่างการเลือกปฏิบัติกับการละเมิดเสรีภาพในทางศาสนา
กรณีปัญหำลักษณะนี้มีตัวอย่ำงเช่นระเบียบในสถำนที่ท�ำงำนหรือสถำนศึกษำเกี่ยวกับกำรแต่งกำย
ตำมศำสนำ เช่น ศำสนำอิสลำม ซึ่งอำจจ�ำแนกพิจำรณำได้สองมิติ คือ
ในมิติแรก หำกกฎระเบียบที่พิพำทไม่เปิดโอกำสให้บุคคลแต่งกำยตำมควำมเชื่อศำสนำได้ โดย
กฎระเบียบดังกล่ำวมีผลใช้บังคับกับลูกจ้ำงหรือนักเรียนทุกคนอย่ำงเท่ำเทียมกันเช่นนี้ หำกพิจำรณำตำมหลักของกำร
เลือกปฏิบัติโดยตรงแล้วจะเห็นได้ว่ำ กฎระเบียบหรือแนวปฏิบัติดังกล่ำวมีลักษณะเป็นกลำง (Neutral) จึงไม่เป็นกำร
เลือกปฏิบัติ อย่ำงไรก็ตำม หำกพิจำรณำหลักกำรเลือกปฏิบัติโดยอ้อมแล้วอำจพิจำรณำได้ว่ำ แม้กฎระเบียบใช้กับบุคคล
ทุกคน แต่ส่งผลกระทบต่อบุคคลบำงคนหรือบำงกลุ่มด้วยเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติแล้วก็อำจจัดเป็นกำรเลือกปฏิบัติ
โดยอ้อมได้ แต่แม้ว่ำจะพิจำรณำในกรอบกำรเลือกปฏิบัติโดยอ้อม ก็ยังมีข้อจ�ำกัดเนื่องจำกต้องมีกำรน�ำปัจจัยอื่นมำ
พิจำรณำ หำกเปรียบเทียบกับกรณีที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชำชำติเห็นว่ำ กฎเกณฑ์เพื่อควำมปลอดภัย
ของแคนำดำที่ใช้บังคับแก่ลูกจ้ำงทุกคนส่งผลให้เกิดกำรเลือกปฏิบัติในทำงพฤตินัย (Discrimination De Facto) ต่อ
ผู้นับถือศำสนำ Sikh แต่เห็นว่ำกฎเกณฑ์ดังกล่ำวมีเหตุผลอันสมควรและมุ่งต่อวัตถุประสงค์ที่ชอบด้วยกฎหมำย ตำม
153
เงื่อนไขของมำตรำ ๑๘ ซึ่งในกรณีของไทยก็เคยมีกรณีผู้ถูกร้องอ้ำงเหตุปัจจัยอื่น เช่น อ้ำงว่ำ “กำรใช้ผ้ำคลุมฮิญำบ
ที่มีลักษณะยำว จะเป็นอุปสรรคในกำรปฏิบัติหน้ำที่ในหอผู้ป่วยใน” (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๑๙๑/๒๕๕๖) ซึ่งใน
กรณีเช่นนี้ก็ต้องพิจำรณำเหตุผลของกำรประกอบอำชีพเป็นกรณีไป
ในมิติที่สอง กฎระเบียบที่ส่งผลจ�ำกัดกำรแต่งกำยตำมควำมเชื่อศำสนำนั้น แม้ว่ำใช้บังคับกับบุคคล
ทุกคนและไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติก็ตำม แต่ส่งผลกระทบกับเสรีภำพในกำรแสดงออกซึ่งศำสนำ ที่ได้รับกำรรับรองไว้ใน
ปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน และกติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทำงกำรเมือง อย่ำงไรก็ตำม
เสรีภำพนี้อำจถูกจ�ำกัดได้โดยบทบัญญัติทำงกฎหมำย ตำมควำมจ�ำเป็น เพื่อรักษำควำมปลอดภัย ควำมสงบเรียบร้อย
สุขอนำมัย หรือศีลธรรมของประชำชน หรือเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพขั้นมูลฐำนของบุคคลอื่น ซึ่งต้องมำพิจำรณำว่ำ
กำรแสดงออกทำงศำสนำโดยกำรแต่งกำยนั้น ขัดต่อควำมสงบเรียบร้อยอย่ำงไร และกฎระเบียบเกี่ยวกับกำรแต่งกำย
ที่จ�ำกัดเสรีภำพในกำรแสดงออกทำงศำสนำดังกล่ำวนั้น เป็นกรณีจ�ำเป็น ได้สัดส่วน หรือไม่
ตัวอย่ำงเช่น ค�ำร้อง ๓๔๔/๒๕๕๓ ซึ่งเป็นกรณีกฎระเบียบของโรงเรียนเกี่ยวกับกำรแต่งกำย ซึ่ง
ผู้ร้องอ้ำงว่ำกระทบเสรีภำพและเลือกปฏิบัติ กรณีนี้กฎระเบียบของโรงเรียนที่พิพำทใช้บังคับกับนักเรียนทุกคน จึงไม่
อยู่ในขอบเขตควำมหมำยของกำรเลือกปฏิบัติ โดยเฉพำะกำรเลือกปฏิบัติโดยตรง แต่อำจเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยอ้อม
และเป็นกำรกระทบเสรีภำพในกำรแสดงออกทำงศำสนำ อย่ำงไรก็ตำม ในกรณีกฎระเบียบกำรแต่งกำยของโรงเรียนนั้น
ได้มีระเบียบของกระทรวงศึกษำธิกำร ว่ำด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งเปิดโอกำสให้มีกำรแต่งกำยตำมหลัก
ศำสนำได้ ปัญหำดังกล่ำวจึงได้รับกำรแก้ไขในระดับหนึ่ง แต่กระนั้นก็ตำม ยังอำจเกิดกรณีปัญหำ เช่น บำงโรงเรียนออก
ระเบียบขัดกับระเบียบของกระทรวงศึกษำธิกำรดังกล่ำว (ค�ำร้องที่ ๓๔๔/๒๕๕๓ รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๕๗/๒๕๕๖)
153 From “Singh Bhinder v. Canada” Communication No. 208/1986
289