Page 289 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 289

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





          จึงต้องพิจำรณำกฎหมำยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น กฎหมำยอำญำฐำนหมิ่นประมำทโดยเฉพำะกำรหมิ่นประมำทผู้ตำย
                               151
          ว่ำเข้ำองค์ประกอบหรือไม่
                         กรณีตำมค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ (ค�ำร้องที่ ๔๕/๒๕๕๕) ผู้ร้องกล่ำวอ้ำงว่ำ

          บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งได้สั่งให้พนักงำนซึ่งมีเครื่องตรวจสแกน ท�ำกำรตรวจค้นร่ำงกำยพนักงำนหญิง เนื่องจำกมีเหตุสงสัย
          ว่ำทรัพย์สินของบริษัทฯ สูญหำย โดยตรวจค้นเป็นรำยบุคคลในห้องน�้ำ พนักงำนถูกบังคับให้ถอดเสื้อผ้ำออกทั้งหมด และ
          ท�ำกำรตรวจค้นโดยละเอียด กรณีนี้ศำลมีค�ำพิพำกษำให้ผู้ถูกร้องชดใช้ค่ำเสียหำยและผู้ร้องได้ขอยุติเรื่อง คณะกรรมกำร

          สิทธิมนุษยชนแห่งชำติจึงเห็นควรยุติเรื่อง (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๑๙๖/๒๕๕๖) กรณีนี้ผู้วิจัยมีข้อพิจำรณำว่ำ
                         ประการแรก แม้ว่ำจะเป็นกรณีเกี่ยวข้องกับ “พนักงำนหญิง” ซึ่งสำมำรถจัดอยู่ในเหตุแห่งกำรเลือก

          ปฏิบัติ แต่ก็ไม่ปรำกฏว่ำมีลักษณะเป็นกำรปฏิบัติต่อพนักงำนหญิงแตกต่ำงออกไปด้วยเหตุแห่งเพศ ดังนั้น กฎเกณฑ์หรือ
          กำรปฏิบัติในลักษณะนี้ซึ่งเป็นกำรปฏิบัติต่อพนักงำนทุกคนเหมือนกันจึงไม่ใช่กำรเลือกปฏิบัติ โดยเฉพำะกำรเลือกปฏิบัติ
          โดยตรง นอกจำกนี้ หำกเป็นกำรปฏิบัติต่อพนักงำนทุกคนในลักษณะเช่นเดียวกัน กล่ำวคือ รูปแบบและลักษณะกำรค้น

          เป็นเช่นเดียวกันทั้งลูกจ้ำงชำยและหญิง โดยไม่ค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำงของพนักงำนบำงคนที่เป็นเพศหญิง ท�ำให้ได้รับ
          ควำมอับอำย ก็อำจเป็นกำรเลือกปฏิบัติทำงอ้อมได้

                         ประการที่สอง หำกมีกำรปฏิบัติเฉพำะต่อพนักงำนหญิง กล่ำวคือ หำกมีข้อเท็จจริงว่ำมีพนักงำนชำย
          ที่ท�ำงำนเช่นเดียวกันอยู่ด้วยแต่ไม่ถูกตรวจค้นก็อำจเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงได้ นอกจำกนี้ เมื่อพิจำรณำตำมพระรำช
          บัญญัติควำมเท่ำเทียมระหว่ำงเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ อำจเป็น “วิธีปฏิบัติ” ขององค์กรเอกชนที่มีลักษณะเลือกปฏิบัติ แต่

          ทั้งนี้ก็ต้องน�ำปัจจัยด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัยในทรัพย์สินมำประกอบว่ำมีควำม “ชอบธรรม” หรือไม่
                         ประการที่สาม กำรค้นตัวพนักงำนดังกล่ำว อำจเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนในมิติอื่นนอกจำกกำร
          เลือกปฏิบัติได้ โดยเฉพำะสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิในเนื้อตัวร่ำงกำย ซึ่งก็ต้องพิจำรณำชั่งน�้ำหนักเหตุผลควำมจ�ำเป็นและ

          สัดส่วนของกำรปฏิบัติดังกล่ำวประกอบด้วย


                         กรณีภำคเอกชนท�ำกำรค้นตัวผู้เข้ำชมคอนเสิร์ตซึ่งมีกำรก�ำหนดให้เจ้ำหน้ำที่ผู้ชำยตรวจค้นกระเป๋ำ

          สัมภำระ เจ้ำหน้ำที่ผู้หญิงตรวจค้นร่ำงกำย ซึ่งกำรตรวจค้นดังกล่ำวมีกำรใช้มือสัมผัสบริเวณหน้ำอก อวัยวะเพศ และ
          ต้นขำ โดยไม่มีกำรแจ้งล่วงหน้ำว่ำจะตรวจอะไรบ้ำง ผู้ร้องเห็นว่ำเป็นลักษณะล่วงละเมิดทำงเพศ คณะกรรมกำรสิทธิ

          มนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำ กำรตรวจค้นกระท�ำเพื่อเป็นกำรคุ้มครองผู้เข้ำชมคอนเสิร์ตให้ได้รับควำมปลอดภัยและไม่ให้
          กระท�ำผิดกฎหมำย แต่วิธีกำรตรวจค้นโดยใช้มือสัมผัสร่ำงกำย อำจสุ่มเสี่ยงต่อกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน (รำยงำน
          ผลกำรพิจำรณำที่ ๙๕๒/๒๕๕๘) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำ กำรปฏิบัติที่พิพำทเกิดขึ้นในภำคเอกชน แต่เป็นกำรปฏิบัติต่อทุก

          คนเหมือนกันโดยไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้เข้ำชมบำงคน อย่ำงไรก็ตำม กำรปฏิบัติดังกล่ำวส่งผลกระทบต่อสิทธิส่วนบุคคลใน
          เนื้อตัวร่ำงกำย ซึ่งเป็นสิทธิมนุษยชนประกำรหนึ่ง ทั้งนี้ มีข้อสังเกตว่ำสิทธิส่วนบุคคลหรือสิทธิในควำมเป็นอยู่ส่วนตัว
                                                                                                        152
          (Right to Privacy) นั้นมีควำมหมำยหลำยนัย ทั้งในแง่สิทธิส่วนบุคคล ในแง่เนื้อตัวร่ำงกำย สิทธิส่วนบุคคลในข้อมูล



                 151
                    ประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๓๒๗ ผู้ใดใส่ควำมผู้ตำยต่อบุคคลที่สำมและกำรใส่ควำมนั้น น่ำจะเป็นเหตุให้ บิดำ มำรดำ
          คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตำยเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระท�ำควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท ต้องระวำงโทษดังบัญญัติไว้
          ใน มำตรำ ๓๒๖ นั้น
                 152
                     คณำธิป ทองรวีวงศ์, เอกสำรประกอบกำรสอนวิชำกฎหมำยสิทธิส่วนบุคคลและข้อมูลส่วนบุคคล (กรุงเทพ: มหำวิทยำลัย
          เซนต์จอห์น, ๒๕๕๗), หน้ำ ๑๗-๒๖.



                                                        288
   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294