Page 288 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 288
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
ควำมหมำยของ “สิทธิมนุษยชน” ซึ่งหมำยควำมว่ำ “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ
และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือตาม
148
กฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม”
อ�ำนำจหน้ำที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ครอบคลุมถึง “… (๒) ตรวจสอบและ
รายงานการกระท�าหรือการละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณี
ระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคล
หรือหน่วยงานที่กระท�า หรือละเลยการกระท�าดังกล่าวเพื่อด�าเนินการ ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มีการด�าเนินการ
ตามที่เสนอ ให้รายงานต่อรัฐสภาเพื่อด�าเนินการต่อไป” 149
ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำ กรณีข้อเท็จจริงที่มีกำรปฏิบัติแตกต่ำงกัน แต่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ
ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน ก็ยังอำจตกอยู่ภำยใต้ขอบเขตอ�ำนำจกำรตรวจสอบของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่ง
ชำติได้ เนื่องจำกกำรกล่ำวอ้ำงว่ำมีกำรเลือกปฏิบัตินั้น อาจเข้าเหตุการล่วงละเมิด “สิทธิมนุษยชน” เรื่องอื่น ๆ เช่น
เสรีภำพในกำรนับถือศำสนำ เสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็น ศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ ซึ่งอำจจ�ำแนกได้ ๔ กรณี ดังนี้
๑. กรณีที่อาจคาบเกี่ยวระหว่างการเลือกปฏิบัติกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือสิทธิในความเป็นอยู่
ส่วนตัว
กรณีตำมค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ผู้ร้องอ้ำงว่ำ วัด พ. ได้จัดท�ำพิพิธภัณฑ์
โดยกำรน�ำร่ำงของผู้เสียชีวิตด้วยโรคเอดส์มำจัดแสดง พร้อมทั้งเขียนชื่อ-นำมสุกล ประวัติ อำชีพของผู้ตำย ทั้งเป็นร่ำงที่
ไม่สวมใส่เสื้อผ้ำ แม้จะมีกำรลงชื่อยินยอมของผู้ตำย ซึ่งผู้ร้องกังวลว่ำอำจจะยินยอมโดยไม่มีควำมอิสระ เนื่องจำก
อยู่ในสถำนที่ดูแลของวัดเลยจ�ำต้องยินยอม ทั้งนี้ ผู้ร้องเห็นว่ำเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งต่อผู้เสียชีวิตเองและญำติ
ของผู้เสียชีวิตด้วย จึงขอให้ตรวจสอบ คณะอนุกรรมกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนด้ำนเด็ก สตรี ผู้สูงอำยุ และ
ควำมเสมอภำคของบุคคล ตรวจสอบแล้วเห็นว่ำ กำรจัดแสดงดังกล่ำวเป็นกำรละเมิดสิทธิในเกียรติยศ และชื่อเสียงของ
ผู้เสียชีวิต และบุคคลในครอบครัว ตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๓๕ ถือว่ำเป็น
กำรกระท�ำอันมิบังควรต่อศพ ดูหมิ่นเหยียดหยำมศพ (ค�ำร้องที่ ๔๘๔/๒๕๕๒)
กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำ กรณีนี้แม้ว่ำจะเป็นกรณีเกี่ยวข้องกับ “ผู้ป่วยโรคเอดส์” ซึ่งสำมำรถจัดอยู่ใน
เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ แต่ก็ไม่ปรำกฏว่ำมีประเด็นกำรเปรียบเทียบระหว่ำงบุคคลเหมือนกันที่ได้รับกำรปฏิบัติแตก
ต่ำงกัน เนื่องจำกกรณีนี้มิได้มีลักษณะเป็นกำรปฏิบัติต่อผู้ป่วยโรคเอดส์ในลักษณะที่แตกต่ำงจำกบุคคลทั่วไป จึงไม่
เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งสุขภำพ จึงต้องพิจำรณำว่ำเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนอื่น ๆ เช่น สิทธิเสรีภำพ
ส่วนบุคคล หรือไม่ ส�ำหรับกรณีของกำรละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลนั้น หำกพิจำรณำตำมร่ำงพระรำชบัญญัติข้อมูล
150
ส่วนบุคคล จะเห็นได้ว่ำ มีกำรยกเว้น “ข้อมูลของผู้ซึ่งถึงแก่กรรมแล้ว” จำกนิยำมควำมหมำยของข้อมูลส่วนบุคคลด้วย
148 พระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒, มำตรำ ๓
149 พระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒, มำตรำ ๑๕
150 ร่ำงที่ผ่ำนกำรพิจำรณำของคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ๒๕๕๘
287