Page 287 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 287

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





           หำกกำรเรียกร้องตำมกระบวนกำรนั้นได้รับกำรปฏิเสธ ตัวอย่ำงเช่น กรณีผู้ร้องอ้ำงว่ำตนและบุตรที่เกิดในประเทศไทย

           มีบัตรประจ�ำตัวบุคคลที่ไม่มีสถำนะทำงทะเบียน ผู้ร้องต้องกำรให้บุตรมีสัญชำติไทยจึงร้องเรียนต่อคณะกรรมกำร
           สิทธิมนุษยชนแห่งชำติ กรณีนี้คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำ “..หำกพบว่ำหน่วยงำนปฏิเสธไม่ด�ำเนิน
           กำรหรือกระบวนกำรพิจำรณำล่ำช้ำ หรือปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตำมที่กฎหมำยก�ำหนด อันเป็นกำรกระท�ำหรือละเลยกำร

           กระท�ำอันเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน นำย ว. สำมำรถยื่นค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติด�ำเนิน
           กำรตรวจสอบใหม่ได้..” (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๙๕๒/๒๕๕๘)

                         กรณีผู้ร้องอ้ำงว่ำไม่ได้รับควำมเป็นธรรมจำกกำรปฏิบัติของโรงเรียนของรัฐแห่งหนึ่ง และครู
           ประจ�ำชั้น กรณีนี้มีข้อเท็จจริงหลำยประเด็น เช่น กรณีบุตรสำวถูกเพื่อนชำยล่วงละเมิดทำงเพศในโรงเรียนและแจ้ง
           ควำมด�ำเนินคดีแล้วแต่คดีควำมไม่คืบหน้ำ กรณีครูประจ�ำชั้น กล่ำวหำว่ำ บุตรสำว “เป็นโรคขำดผู้ชำยไม่ได้ ต้องน�ำ

           ไปบ�ำบัด มีฮอร์โมนผิดปกติเพรำะเป็นผู้พิกำร” และถูกครูประจ�ำชั้นท�ำร้ำยร่ำงกำยโดยใช้ไม้ขนไก่ตี และกระชำกผม
           เป็นต้น (ค�ำร้องที่ ๔๗๖/๒๕๕๖) แม้ว่ำในหลำยประเด็นคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติต้องยุติเรื่องเนื่องจำก

           ผู้ร้องได้ร้องทุกข์และฟ้องเป็นคดีต่อศำลแล้ว จึงเป็นกรณีที่อยู่นอกเหนืออ�ำนำจของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
           แห่งชำติ (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๙๔/๒๕๕๗) แต่ในส่วนของกำรที่ครูประจ�ำชั้นมีพฤติกรรมกล่ำวข้อควำม
           และมีพฤติกรรมทำงกำยภำพต่อเด็กซึ่งเป็น “ผู้พิกำร” อำจเข้ำเหตุของกำรคุกคำม (Harassment) รวมทั้ง “Hate

           Speech” ได้ ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มกำรกระท�ำอันเป็นกำรเลือกปฏิบัติ (Discrimination) ในกรอบกฎหมำยสิทธิมนุษยชน







               ๔.๔.๙ การปฏิบัติที่แตกต่างกันอันไม่อยู่ในขอบเขตของ “การเลือกปฏิบัติ” กับอ�านาจของ
          คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ



                       ส�ำหรับกรณีข้อเท็จจริงที่มีกำรกล่ำวอ้ำงถึงกำร “เลือกปฏิบัติ” นั้น แม้ว่ำเมื่อน�ำหลักกำรพิจำรณำตำม

          แนวทำงกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศมำวิเครำะห์แล้วพบว่ำไม่เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติ เช่น ไม่เกี่ยวกับ
          “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” หรือไม่ได้มีลักษณะของกำรปฏิบัติอันแตกต่ำงกันระหว่ำงบุคคลในสำระส�ำคัญที่เหมือนกัน
          กรณีเหล่ำนี้ จึงไม่อำจถือได้ว่ำจัดเป็นกรณี “กำรเลือกปฏิบัติ” (Discrimination) ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน โดยบำง

          กรณีเป็นเพียงกำร “ปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน” (Differentiation หรือ Distinction) หรือบำงกรณีมีลักษณะเป็นกำรปฏิบัติ
          ที่ไม่เป็นธรรม อันอำจเกี่ยวข้องกับบริบทกฎหมำยอื่น เช่น กฎหมำยปกครอง เป็นต้น

                        อย่ำงไรก็ตำม ส�ำหรับกรณีกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำย
          สิทธิมนุษยชนนั้น มีประเด็นพิจำรณำต่อไปว่ำ กรณีเหล่ำนั้นอยู่ในขอบเขตอ�ำนำจของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
          แห่งชำติหรือไม่ ในประเด็นนี้จะต้องพิจำรณำ พระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งมี

          หลักกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง คือ














                                                        286
   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292