Page 286 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 286
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
เป็น “เด็ก” แต่เหตุที่เด็กผู้นั้นถูกปฏิบัติแตกต่ำงสืบเนื่องจำก “พฤติกรรม” ซึ่งเหตุนี้มิได้เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือก
ปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน อย่ำงไรก็ตำม กรณีนี้เป็นกำรตีควำมกำรเลือกปฏิบัติในกรอบของกฎหมำยเฉพำะ
คือ พระรำชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มำตรำ ๒๒
คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำกำรที่ส�ำนักงำน ก.พ. ได้อนุมัติในหลักกำรว่ำ กำร
ก�ำหนดต�ำแหน่งที่มีผลท�ำให้ค่ำใช้จ่ำยด้ำนบุคคลของส่วนรำชกำรเพิ่มขึ้น ให้ส่วนรำชกำรน�ำต�ำแหน่งว่ำงที่มีเงินมำ
ยุบเลิก และต่อมำ ส�ำนักงำนปลัดกระทรวงสำธำรณสุขได้มีหนังสือขอยกเว้นหลักเกณฑ์ดังกล่ำวในต�ำแหน่งสำยงำน
แพทย์และทันตแพทย์ โดยขอให้กำรก�ำหนดต�ำแหน่งสูงขึ้นของทั้งสองต�ำแหน่งนี้เป็นระดับเชี่ยวชำญโดยไม่ต้องน�ำ
ต�ำแหน่งว่ำงมำยุบรวม ซึ่งส�ำนักงำน ก.พ.อนุมัติ ท�ำให้ต�ำแหน่งสำยงำนแพทย์ไม่ต้องน�ำต�ำแหน่งว่ำงมำยุบรวม เป็น
กรณีที่ส�ำนักงำน ก.พ. ปฏิบัติต่อบุคลำกรต�ำแหน่งสำยงำนอื่นที่ท�ำหน้ำที่ให้บริกำรสำธำรณสุขโดยไม่เป็นธรรม
โดยเฉพำะระหว่ำงบุคลำกรที่มีสถำนะเป็นแพทย์ กับบุคลำกรที่มีสถำนะอื่น คือ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยำบำลวิชำชีพ
นักรังสีกำรแพทย์ ฯลฯ นอกจำกนี้ กำรที่ส�ำนักงำนปลัดกระทรวงสำธำรณสุขได้มีหนังสือขอให้ส่วนรำชกำรในสังกัด
ระงับกำรใช้ต�ำแหน่งว่ำง เพื่อน�ำต�ำแหน่งว่ำงดังกล่ำวมำใช้บรรจุแต่งตั้งนักเรียนทุนของรัฐบำลในสำยงำนแพทย์
และทันตแพทย์ ก็เป็นกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อบุคลำกรต�ำแหน่งสำยงำนอื่นที่ท�ำหน้ำที่ให้บริกำรสำธำรณสุข
(รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๑/๒๕๕๕) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำ กฎระเบียบของภำครัฐปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันด้วยเหตุ
“ต�ำแหน่งงำน” ซึ่งมีประเด็นว่ำ เหตุดังกล่ำวสำมำรถจัดอยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศได้
หรือไม่ ทั้งนี้ ในแง่หนึ่งอำจตีควำมว่ำจัดอยู่ในควำมหมำยของ “สถำนะ” ของบุคคล แต่ในอีกแง่หนึ่งอำจพิจำรณำ
ได้ว่ำ “ต�ำแหน่งงำน” อำจเกี่ยวข้องกับ “อำชีพ” มำกกว่ำ ซึ่งกฎหมำยต่ำงประเทศบำงประเทศ เช่น ออสเตรเลีย
ก�ำหนดให้ “อำชีพ” เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติโดยเฉพำะ ในขณะที่อีกหลำยประเทศ เช่น แคนำดำ รวมทั้ง
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยที่ผ่ำนมำมิได้ก�ำหนด “อำชีพ” ไว้เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติเฉพำะ กรณีจำก
ค�ำร้องดังกล่ำวนี้จึงยังอำจอภิปรำยกันได้ต่อไป
การที่บุคคลบำงกลุ่มเสียสิทธิบำงอย่ำง เมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง เพรำะไม่ปฏิบัติ
ตำมหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขส�ำหรับกำรได้สิทธินั้น หำกหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่ำวไม่มีข้อเท็จจริงว่ำเกี่ยวข้องกับ
เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติและไม่ใช่กำรเลือกปฏิบัติ เช่น กรณีผู้ร้องอ้ำงว่ำถูกตัดสิทธิไม่ให้เข้ำร่วมสอบคัดเลือกบุคคล
เข้ำเรียนในคณะแพทยศำสตร์เนื่องจำกขำดเอกสำรประกอบกำรสอบ เช่น ส่งรูปถ่ำยไม่ครบตำมจ�ำนวนที่ก�ำหนด
ในประกำศสอบ จะเห็นได้ว่ำ เมื่อผู้ร้องมิได้ปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงื่อนไขดังกล่ำว กำรที่ผู้ร้องถูกตัดสิทธิ
เข้ำสอบจึงมิใช่เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (ค�ำร้องที่ ๖๒๕/๒๕๕๓ และ ๖๓๑-๖๓๕/๒๕๕๓ รำยงำนผล
กำรพิจำรณำ ที่ ๓๕๗-๓๖๒/๒๕๕๘)
กรณีผู้ร้องอ้ำงมีกำรละเมิดสิทธิ แต่ไม่ได้รับควำมเป็นธรรมในกำรเรียกร้องสิทธิตำมกระบวนกำร
ยุติธรรม เช่น กรณีผู้ร้องอ้ำงว่ำ เด็กถูกล่วงละเมิดทำงเพศในโรงเรียน ผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียนได้ทรำบเรื่องที่เกิดขึ้น
แต่กลับไม่ด�ำเนินกำรแก้ไขปัญหำ ผู้ร้องและผู้ปกครองได้เข้ำร้องทุกข์ต่อพนักงำนสอบสวนแต่คดีไม่คืบหน้ำ จึงขอให้
ตรวจสอบ (ค�ำร้องที่ ๑๓๑/๒๕๕๗) กรณีเช่นนี้ หำกข้อเท็จจริงปรำกฏว่ำ กำรไม่ได้รับควำมเป็นธรรมหรือกำรปฏิบัติ
ที่แตกต่ำงกันในกำรด�ำเนินกระบวนกำรดังกล่ำวเกิดจำกกำรกระท�ำของเจ้ำหน้ำที่รัฐที่มิชอบด้วยกฎหมำย ก็อำจ
เกี่ยวข้องกับกฎหมำยอื่น เช่น กฎหมำยปกครอง ประมวลกฎหมำยอำญำ อย่ำงไรก็ตำม หำกปรำกฏว่ำกำรเรียกร้อง
สิทธิในกระบวนกำรตำมกฎหมำยมีกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น สืบเนื่องจำกกำรที่
ผู้ร้องเกี่ยวข้องกับเหตุด้ำนเชื้อชำติ ศำสนำ ฯลฯ อำจเกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนได้ หรือ
285