Page 284 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 284

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





               ลักษณะต้องห้ำมได้ ควรมีกำรพิจำรณำทบทวนปรับปรุงและแก้ไขกฎหมำยให้สอดคล้องกับมิติด้ำนสิทธิเสรีภำพตำม
               รัฐธรรมนูญและพันธกรณีระหว่ำงประเทศรับรองไว้” (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๓/๒๕๕๕) ส�ำหรับกรณีภำคเอกชน
               คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติให้เหตุผลว่ำ “บริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขกำรพิจำรณำรับบุคคลเข้ำ

               ท�ำงำนแตกต่ำงกันไป…” (ค�ำร้องที่ ๔๘๖/๒๕๕๖ รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๙๕/๒๕๕๘) ผู้วิจัยเห็นว่ำกรณีนี้กฎหมำย
               ต่ำงประเทศบำงประเทศก�ำหนดให้ประวัติอำชญำกรรมเป็นเหตุแห่งกำรเลือกฎิบัติโดยเฉพำะ อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำย
               ระหว่ำงประเทศมิได้ก�ำหนดเหตุนี้ไว้อย่ำงชัดแจ้ง นอกจำกนี้ ยังมีเหตุผลและปัจจัยอื่นที่จะต้องน�ำมำประกอบ

               กำรพิจำรณำ จึงแยกวิเครำะห์เป็นหัวข้อต่ำงหำกต่อไป
                             คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำกรณีภำคเอกชนบังคับให้ตรวจเลือดก่อนรับเข้ำท�ำงำน

               “…เป็นกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมและอำจละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี จึงไม่ควรปิดกั้นเรื่องกำรท�ำงำน
               อันเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยเกินจ�ำเป็นของลักษณะประเภทกำรจ้ำงงำนที่เป็นสำระส�ำคัญ ทั้งที่บุคคลที่ติดเชื้อเอช
               ไอวีสำมำรถปฏิบัติงำนได้ในสถำนภำพเดียวกันโดยไม่จ�ำกัดทำงสุขภำพอนำมัย” (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๓๐๘-

               ๓๐๙/๒๕๕๘) จะเห็นได้ว่ำ กรณีกำรติดเชื้อเอชไอวี มิได้บัญญัติไว้ชัดแจ้งในฐำนะเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ
               แต่อำจตีควำมว่ำอยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติกรณี “สุขภำพ” ได้




                     ๔.๔.๘ การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: ค�าร้องต่อคณะกรรมการสิทธิ
               มนุษยชนแห่งชาติ



                            จำกกำรศึกษำค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติในบทที่ ๒ พบว่ำมีหลำยกรณีที่ผู้ร้องอ้ำงว่ำ

               มีกำร “เลือกปฏิบัติ” เกิดขึ้น ซึ่งมักเป็นกรณีกำรน�ำข้อเท็จจริงสองข้อเท็จจริงมำเปรียบเทียบกันว่ำมีกำรปฏิบัติต่อข้อเท็จ
               จริงดังกล่ำวแตกต่ำงกัน อย่ำงไรก็ตำม หำกพิจำรณำภำยใต้กรอบของกฎหมำยสิทธิมนุษยชนแล้วจะเห็นได้ว่ำ ในหลำย
               กรณีตำมค�ำร้องนั้น กำรปฏิบัติแตกต่ำงกันดังกล่ำวไม่มีควำมเกี่ยวข้องกับ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิ

               มนุษยชน อย่ำงไรก็ตำม หำกกำรปฏิบัติแตกต่ำงดังกล่ำวนั้นเป็นกรณีที่ผู้ร้องได้รับควำมไม่เป็นธรรมอำจจะต้องพิจำรณำ
               กำรคุ้มครองภำยใต้บริบทของกฎหมำยอื่น เช่น กฎหมำยปกครอง เป็นต้น ตัวอย่ำงของค�ำร้องในลักษณะเช่นนี้มีดังต่อไปนี้



                               ผู้ร้องอ้ำงว่ำไม่ได้รับควำมเป็นธรรมจำกกำรปฏิบัติของโรงเรียนแห่งหนึ่ง กรณีบุตรสำวถูกเพื่อน

                 ชำยล่วงละเมิดทำงเพศในโรงเรียนและแจ้งควำมแล้วแต่คดีไม่มีควำมคืบหน้ำ (ค�ำร้องที่ ๔๗๖/๒๕๕๖) กรณีนี้จะเห็น
                 ได้ว่ำ เป็นกรณีที่ผู้ร้องเห็นว่ำตนไม่ได้รับควำมเป็นธรรมในประเด็นที่ว่ำคดีไม่มีควำมคืบหน้ำ แต่ไม่ปรำกฏว่ำกำรที่คดี
                 ไม่คืบหน้ำดังกล่ำวเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติอย่ำงใดตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน อย่ำงไรก็ตำม กรณีนี้บุตร

                 สำวผู้ร้องเป็นผู้พิกำร หำกมีข้อเท็จจริงว่ำกำรที่คดีไม่คืบหน้ำนั้นสืบเนื่องมำจำกสำเหตุควำมพิกำร ก็อำจเข้ำเหตุแห่ง
                 กำรเลือกปฏิบัติได้ นอกจำกนี้ ส�ำหรับประเด็นกำรถูกล่วงละเมิดทำงเพศอำจเข้ำเหตุกำรคุกคำมทำงเพศ (Harassment)

                               กรณีผู้ร้องอ้ำงว่ำถูกเลือกปฏิบัติเนื่องจำกมีกำรบังคับใช้กฎหมำยอย่ำงไม่เท่ำเทียมกัน เช่น
                 พนักงำนสอบสวนแจ้งข้อหำเฉพำะผู้ร้องแต่ไม่แจ้งข้อหำคู่กรณีในกำรทะเลำะวิวำท (ค�ำร้องที่ ๗๔/๒๕๕๕) กรณีนี้
                 แม้ว่ำอำจมีลักษณะของกำรเปรียบเทียบกำรด�ำเนินกำรกับบุคคลสองคนแตกต่ำงกัน แต่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำร

                 เลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน






                                                               283
   279   280   281   282   283   284   285   286   287   288   289