Page 283 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 283
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
๔.๔.๗ การปฏิบัติที่แตกต่างกันซึ่งจัดอยู่ในขอบเขตของ “การเลือกปฏิบัติ”: ค�าร้องต่อคณะ
กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
จำกกำรศึกษำค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติในบทที่ ๒ พบว่ำมีหลำยกรณีที่ผู้ร้องอ้ำง
ว่ำมีกำร “เลือกปฏิบัติ” เกิดขึ้น ซึ่งมักเป็นกรณีกำรน�ำข้อเท็จจริงสองข้อเท็จจริงมำเปรียบเทียบกันว่ำมีกำรปฏิบัติต่อ
ข้อเท็จจริงดังกล่ำวแตกต่ำงกัน หำกพิจำรณำภำยใต้กรอบของกฎหมำยสิทธิมนุษยชนแล้ว กำรปฏิบัติแตกต่ำงกันดังกล่ำว
อยู่ภำยใต้ขอบเขตกำรเลือกปฎิบัติ เช่น มีควำมเกี่ยวข้องกับ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” ดังนี้ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน
นั้นก็จัดเป็น “กำรเลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน ตัวอย่ำงของค�ำร้องที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้มีดังต่อไปนี้
กรณีกำรสำบำนตนก่อนเบิกควำมตำมข้อควำมในแบบพิมพ์ของศำลซึ่งก�ำหนดไว้แตกต่ำงกัน
คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเคยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยในภำพรวมต่อส�ำนักงำนศำลยุติธรรม ส�ำนักงำน
ศำลปกครอง และกรมพระธรรมนูญ เพื่อพิจำรณำถึงรูปแบบและแนวทำงกำรปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทำงเดียวกัน เพื่อให้เกิด
ควำมเป็นระบบในทุกชั้นศำลและเพื่อควำมเป็นสำกล โดยควรที่จะเป็นกำรเฉพำะตัวของบุคคลที่กล่ำวค�ำสำบำน
ซึ่งไม่ควรมีกำรอ้ำงถึงครอบครัวในทุกศำสนำ เพื่อให้สอดคล้องกับมำตรำ ๓๐ และ ๓๕ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
รำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๖๔๗/๒๕๕๕) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำ แบบพิมพ์ที่ก�ำหนด
ไว้ส�ำหรับแต่ละศำสนำมีข้อควำมแตกต่ำงกัน โดยเฉพำะกำรพำดพิงผลร้ำยจำกกำรสำบำนไปยังครอบครัวซึ่งมีเฉพำะ
บำงศำสนำ แต่ไม่ปรำกฏข้อควำมดังกล่ำวส�ำหรับบำงศำสนำ จึงเป็นควำมแตกต่ำงกันที่มีพื้นฐำนจำกเหตุ “ศำสนำ”
กรณีระเบียบคณะกรรมกำรปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่ำด้วยหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขใน
กำรคัดเลือกเกษตรกร ซึ่งจะมีสิทธิได้รับที่ดินจำกกำรปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้อ ๖ (๔) ก�ำหนดไว้
ว่ำ ว่ำผู้ที่มีสิทธิเข้ำท�ำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. จะต้องเป็น “ผู้มีร่ำงกำยสมบูรณ์” โดยเจ้ำหน้ำที่ส�ำนักงำนกำรปฎิรูป
ที่ดินจังหวัด ก ตีควำมหมำยรวมถึงคนพิกำรทุกประเภท คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำ “…กำรตีควำม
ดังกล่ำวเป็นกำรตีควำมอย่ำงแคบ ท�ำให้ผู้ร้องถูกจ�ำกัดสิทธิและเสียสิทธิในกำรเข้ำท�ำประโยชน์ในเขตปฎิรูปที่ดิน…”
(รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๒/๒๕๕๕) กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำ ระเบียบและกำรตีควำมระเบียบดังกล่ำว เป็นกำรปฏิบัติต่อ
บุคคลแตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่งควำมพิกำรทำงกำย
ระเบียบกองทัพบกว่ำด้วยดุริยำงค์ทหำรบก พ.ศ. ๒๕๕๓ ตำมผนวกข้อ ๓ เกี่ยวกับบัญชีโรคหรือ
ควำมผิดปกติหรือควำมพิกำรซึ่งขัดต่อกำรเป็นนักเรียนดุริยำงค์ทหำรบก ข้อย่อย ๓.๑.๑.๓ ซึ่งระบุว่ำ “แผลเป็นหรือ
ปำนที่หน้ำมีเนื้อที่ตั้งแต่ ๑.๕ ตำรำงนิ้วขึ้นไป หรือมีควำมยำวมำกจนดูหน้ำเกลียด” คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
แห่งชำติเห็นว่ำ เป็นระเบียบที่อำจท�ำให้เกิดกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๑๙๔/๒๕๕๗) กรณีนี้
จะเห็นได้ว่ำ เป็นกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันต่อบุคคลด้วยเหตุ “สภำพร่ำงกำย” อันระบุไว้เฉพำะในรัฐธรรมนุญแห่งรำช
อำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐
กรณีกำรก�ำหนด “ประวัติอำชญำกรรม” มำเป็นข้อจ�ำกัดในกำรประกอบอำชีพ ซึ่งแบ่งเป็นกรณีข้อ
จ�ำกัดในกำรท�ำงำนภำครัฐ และภำคเอกชน ซึ่งคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเคยพิจำรณำแล้วเห็นว่ำไม่เป็นกำร
เลือกปฏิบัติ กล่ำวคือ กรณีภำครัฐนั้น ผลกำรพิจำรณำเห็นว่ำ “กฎหมำยกลุ่มที่ก�ำหนดให้กำรต้องค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้
จ�ำคุกเป็นคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ำมในกำรเข้ำรับรำชกำร โดยไม่มีกำรก�ำหนดข้อยกเว้นให้มีกำรใช้ดุลพินิจยกเว้น
282