Page 281 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 281

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ






                         กรณีกำรเปรียบเทียบระหว่ำงกำรเรียกดอกเบี้ยของสถำบันกำรเงิน และองค์กรหรือบุคคลอื่น
           ที่มิใช่สถำบันกำรเงิน จะเห็นได้ว่ำกำรเรียกดอกเบี้ยมีควำมแตกต่ำงกัน (Distinction/Differentiation) โดย

           กฎหมำยก�ำหนดให้สำมำรถเรียกแตกต่ำงกันได้ อย่ำงไรก็ตำม หำกพิจำรณำหลักกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำย
           สิทธิมนุษยชนแล้วจะเห็นได้ว่ำ ควำม “แตกต่ำง” นี้ยังไม่ถือเป็น “กำรเลือกปฏิบัติ” เนื่องจำกควำมแตกต่ำงในกำร
           เรียกดอกเบี้ยดังกล่ำวมิได้สืบเนื่องจำก “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน เช่น เชื้อชำติ ศำสนำ

           เพศ ฯลฯ อย่ำงไรก็ตำม ศำลรัฐธรรมนูญมิได้ระบุถึงเหตุผลเหล่ำนี้เนื่องจำกให้เหตุผลว่ำ “ได้รับควำมคุ้มครองตำม
           กฎหมำยและเป็นไปตำมพระรำชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถำบันกำรเงินฯ และพระรำชบัญญัติกำรประกอบ
           ธุรกิจเงินทุนธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ฯ” (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๕/๒๕๔๒) คดีนี้จะเห็นได้ว่ำ

           กำรกล่ำวอ้ำงอยู่บนพื้นฐำนของเหตุที่ “กว้ำงกว่ำ” เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนและเหตุแห่ง
           กำรเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ อย่ำงไรก็ตำม แม้ศำลตัดสินว่ำไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติแต่ก็มิได้วินิจฉัยชัดเจนลงไป

           ว่ำกรณีนี้ไม่เกี่ยวข้องกับ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” แต่ในอีกแง่หนึ่งอำจมองได้ว่ำ กฎหมำยก�ำหนดหลักกำรปฏิบัติ
           ที่ “แตกต่ำงกัน” ระหว่ำงกรณีบุคคลธรรมดำและสถำบันกำรเงินซึ่งเกี่ยวข้องกับ “สถำนะของบุคคล” อย่ำงไรก็ตำม
           แต่แม้กระนั้นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกรณีนี้ก็อำจพิจำรณำได้ว่ำมีเหตุผลอันสมควรในกำรก�ำหนดให้บุคคลธรรมดำกับ

           สถำบันกำรเงินเรียกดอกเบี้ยได้แตกต่ำงกัน





                         กรณีกำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงกันระหว่ำงประชำชนและหน่วยงำนภำครัฐ โดยผู้ร้องอ้ำง
           ว่ำ ประมวลรัษฎำกร มำตรำ ๑๒๑ ให้สิทธิและยกเว้นแก่โจทก์ซึ่งเป็นหน่วยงำนของรัฐ ไม่ต้องปิดอำกรแสตมป์ใน

           หนังสือมอบอ�ำนำจ แต่ในขณะเดียวกันฝ่ำยผู้ร้องต้องปิดอำกรแสตมป์ หำกไม่ปิดไม่สำมำรถรับฟังเป็นพยำนหลักฐำน
           ได้.. ก่อให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมกันในกฎหมำย จึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ ศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ ประมวล
           รัษฎำกร มำตรำ ๑๒๑ เป็นเรื่องกำรเสียอำกร มีวัตถุประสงค์ที่จะเก็บจำกประชำชนที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ ไม่ได้มี

           วัตถุประสงค์ที่จะเก็บจำกรัฐเอง กำรที่มำตรำ ๑๒๑ บัญญัติว่ำ ถ้ำฝ่ำยที่ต้องเสียอำกรเป็นรัฐบำล เจ้ำพนักงำนของ
           รัฐที่กระท�ำงำนของรัฐบำลโดยหน้ำที่ หรือบุคคลผู้กระท�ำกำรในนำมของรัฐบำลไม่ต้องเสียอำกรแสตมป์ จึงชอบด้วย
           วัตถุประสงค์ของกฎหมำยดังกล่ำวแล้ว ไม่ได้เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลทั่วไป (ค�ำวินิจฉัยศำล

           รัฐธรรมนูญที่ ๔๑/๒๕๔๗) จำกคดีนี้จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยก�ำหนดหลักกำรปฏิบัติที่ “แตกต่ำงกัน” ระหว่ำงกรณี
           บุคคลธรรมดำและหน่วยงำนของรัฐ ซึ่งมีสภำพและลักษณะที่แตกต่ำงกัน ประกอบกับเหตุผลด้ำนกำรเก็บภำษีจึง

           อยู่ภำยใต้เงื่อนไขแตกต่ำงกันได้โดยไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ แต่มีข้อสังเกตว่ำศำลมิได้วินิจฉัยชัดเจนลงไปว่ำกรณีนี้
           เกี่ยวข้องกับ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” หรือไม่





                         กรณีอ้ำงว่ำ พระรำชบัญญัติภำษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ มำตรำ ๔๕ ขัดหรือแย้งกับ

           รัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๙ และ ๓๐ เนื่องจำกบัญญัติให้ผู้รับโอนต้องรับผิดในฐำนะลูกหนี้ร่วมกับผู้โอนในภำษีที่ค้ำง
           ช�ำระ “ไม่ว่ำจะรับโอนมำด้วยเหตุใด ๆ” กฎหมำยบัญญัติให้ควำมคุ้มครองรัฐฝ่ำยเดียวด้วยกำรปิดปำกมิให้ผู้รับ
           โอนยกข้อต่อสู้ใด ๆ ได้เลย แม้จะเป็นผู้รับโอนที่สุจริตและมีค่ำตอบแทน ท�ำให้ผู้รับโอนเสียเปรียบ ศำลรัฐธรรมนูญ







                                                        280
   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286