Page 280 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 280

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                                    คดีที่มีกำรอ้ำงว่ำ พระรำชบัญญัติจัดตั้งศำลปกครองและวิธีพิจำรณำคดีปกครอง พ.ศ.
                 ๒๕๔๒ มำตรำ ๕๑ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ มำตรำ ๒๘ และ ๓๐ หรือไม่
                 ศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ มำตรำ ๕๑ ดังกล่ำวเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องระยะเวลำกำรฟ้องคดีที่ก�ำหนด

                 ให้ผู้ฟ้องคดีที่มีข้อพิพำทเกี่ยวกับกำรกระท�ำละเมิดหรือควำมรับผิดอย่ำงอื่น ตำมมำตรำ ๙ วรรคหนึ่ง (๓) และคดี
                 พิพำทเกี่ยวกับสัญญำทำงปกครอง ตำมมำตรำ ๙ วรรคหนึ่ง (๔) จะต้องยื่นฟ้องคดีต่อศำลปกครองภำยในหนึ่งปีนับ
                 แต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งกำรฟ้องคดี ศำลรัฐธรรมนูญเห็นว่ำรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๓๐ เป็นบทบัญญัติให้บุคคล

                 ทุกคนย่อมเสมอกันในกฎหมำย และได้รับกำรคุ้มครองโดยเท่ำเทียมกันในกฎหมำยที่บุคคลนั้นถูกบังคับใช้อยู่ กล่ำว
                 คือ หำกผู้ฟ้องคดีน�ำคดีมำขึ้นสู่ศำลปกครอง กระบวนวิธีพิจำรณำควำมก็ย่อมมีควำมเท่ำเทียมกันกับบุคคลอื่นที่

                 น�ำคดีมำขึ้นสู่ศำลปกครองเช่นเดียวกัน มำตรำ ๕๑ ดังกล่ำวจึงมิได้ให้สิทธิแก่บุคคลที่จะฟ้องคดีต่อศำลปกครองให้
                 แตกต่ำงกัน จึงมิได้ขัดรัฐธรรมนูญฯ มำตรำ ๓๐ แต่อย่ำงใด (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๑/๒๕๕๐)
                                    กรณีที่ผู้เช่ำซื้อรถยนต์ของกลำง อ้ำงว่ำไม่มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นเป็นใจให้มีกำรน�ำรถยนต์

                 ดังกล่ำวไปใช้ในกำรกระท�ำควำมผิดตำมกฎหมำยเกี่ยวกับยำเสพติดแต่อย่ำงใด รวมทั้งอ้ำงว่ำกำรริบรถยนต์ดังกล่ำวตำม
                 พระรำชบัญญัติมำตรกำรในกำรปรำบปรำมผู้กระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ มำตรำ ๓๐ วรรค

                 สองและวรรคสี่ เป็นบทบัญญัติที่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ มำตรำ ๓๐
                 ศำลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ำ กฎหมำยดังกล่ำวเป็นบทบัญญัติที่ก�ำหนดกระบวนกำรทำงกฎหมำยเพื่อเปิดโอกำสให้
                 บุคคลผู้เป็นเจ้ำของทรัพย์สินที่ถูกศำลสั่งริบในคดียำเสพติด ใช้สิทธิร้องคัดค้ำนค�ำร้องขอให้ริบทรัพย์สินของ

                 พนักงำนอัยกำรได้ จึงเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมำย  มีผลใช้บังคับต่อบุคคลเป็นกำรทั่วไปโดยเสมอกัน
                 ไม่ได้ยกเว้นให้ใช้บังคับกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือท�ำให้บุคคลไม่ได้รับควำมเสมอกัน ในกฎหมำยหรือ
                 ไม่ได้รับควำมคุ้มครองตำมกฎหมำยเท่ำเทียมกัน และไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล

                 แต่อย่ำงใด บทบัญญัติดังกล่ำวจึงไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ มำตรำ
                 ๓๐ (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑/๒๕๕๑)
                                    คดีที่มีประเด็นว่ำ พระรำชบัญญัติจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นกำรเลือก

                 ปฏิบัติและขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้น ศำลวินิจฉัยว่ำ ... บทบัญญัติดังกล่ำวจึงเป็นบทบัญญัติที่ก�ำหนดสำระส�ำคัญเกี่ยวกับ
                 กำรบริหำรงำนบุคคล ทรัพย์สิน และรำยได้ของจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย เพื่อให้กำรบริหำรจัดกำรจุฬำลงกรณ์

                 มหำวิทยำลัยมีควำมเป็นอิสระและมีควำมคล่องตัว สอดคล้องกับหลักกำรบริหำรจัดกำรของหน่วยงำนในก�ำกับของ
                 รัฐซึ่งไม่เป็นส่วนรำชกำรและรัฐวิสำหกิจ ...โดยบทบัญญัติดังกล่ำว ใช้บังคับแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องตำมที่กฎหมำย
                 ก�ำหนดโดยเสมอกันและไม่มีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๓๐ แต่อย่ำง

                 ใด” (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๓๑/๒๕๕๕)



                              จำกคดีทั้ง ๕ ดังกล่ำวข้ำงต้นจะเห็นได้ว่ำกฎหมำยที่พิพำทมิได้มีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ
                 ต่ำง ๆ ของกำรเลือกปฏิบัติ แต่เป็นกรณีตัวอย่ำงของกำรที่ผู้ร้องอ้ำงว่ำกฎหมำยมีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วย
                 เหตุที่กว้ำงกว่ำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน อย่ำงไรก็ตำม แม้ศำลตัดสินว่ำไม่เป็นกำรเลือก

                 ปฏิบัติแต่ก็มิได้วินิจฉัยชัดเจนลงไปว่ำกรณีนี้ไม่เกี่ยวข้องกับ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” โดยศำลให้เหตุผลว่ำกฎหมำย
                 ดังกล่ำวมีผลใช้บังคับกับทุกคนเท่ำเทียมกัน ซึ่งเป็นเหตุผลอันสอดคล้องกับหลักกำรเลือกปฏิบัติโดยตรงนั่นเอง








                                                               279
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285