Page 279 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 279

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ






           ต้องปฏิบัติตำมพันธกรณีที่ระบุไว้ในอนุสัญญำดังกล่ำว ตั้งแต่วันที่ ๒๘ สิงหำคม ๒๕๕๑ เป็นต้นมำ นอกจำกนี้
           ยังมีข้อสังเกตว่ำ ศำลน�ำปัจจัยเกี่ยวกับควำมจ�ำเป็นและลักษณะของงำนที่พิพำทมำประกอบกำรวินิจฉัยด้วย ซึ่ง
           หำกตำมลักษณะของงำนดังกล่ำวมีควำมจ�ำเป็นที่จะต้องก�ำหนดคุณสมบัติบุคคลให้แตกต่ำงกัน ก็อำจเข้ำข้อยกเว้น

           ของหลักห้ำมเลือกปฏิบัติ ซึ่งตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศและกฎหมำยต่ำงประเทศก็มีกำรก�ำหนด
                                                                                         147
           ข้อยกเว้นกรณีคุณสมบัติที่จ�ำเป็นของงำนไว้ (Genuine Occupational Requirement)  อย่ำงไรก็ตำม
           ในกรณีนี้ศำลเห็นว่ำควำมพิกำรมิได้เป็นอุปสรรคต่อต�ำแหน่งงำนข้ำรำชกำรตุลำกำรแต่อย่ำงใด จำกกำรศึกษำคดี

           ทั้ง ๓ ข้ำงต้นจะเห็นได้ว่ำ เป็นกรณีที่เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติในบริบทของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องกับ “เหตุแห่ง
           กำรเลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน






               ๔.๔.๖ การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: คดีของศาลรัฐธรรมนูญ


                      จำกคดีที่ขึ้นสู่กำรพิจำรณำของศำลรัฐธรรมนูญ พบว่ำมีหลำยคดีที่มีประเด็นกล่ำวอ้ำงว่ำกฎหมำยบำง

         ฉบับเป็นกำรเลือกปฏิบัติหรือก่อให้เกิดภำระหน้ำที่ต่อบุคคลที่ไม่เท่ำเทียมกันอันขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งหำกเปรียบเทียบ
         หลักกำรและข้อเท็จจริงแล้ว พบว่ำ อำจเป็นกรณีกฎหมำยที่พิพำทส่งผลให้เกิดควำม “แตกต่ำงกัน” แต่ไม่เกี่ยวข้องกับ

         “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” หรืออำจเป็นกรณีกฎหมำยที่พิพำทนั้นส่งผลให้เกิดควำม “แตกต่ำงกัน” แต่มีเหตุผลอันสมควร
         ประกำรอื่นที่ศำลน�ำมำพิจำรณำตัดสินว่ำไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติอันขัดต่อรัฐธรรมนูญ ดังจะได้จ�ำแนกวิเครำะห์ต่อไปนี้


                         กำรอ้ำงว่ำกฎหมำยบำงฉบับสร้ำงควำมไม่เท่ำเทียมกันและเป็นกำรเลือกปฏิบัติ โดยที่ไม่เกี่ยวข้อง

           กับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น


                              คดีที่ผู้ร้องอ้ำงว่ำกำรก�ำหนดเงื่อนไขเพื่อก่อให้เกิดสิทธิประโยชน์และกำรก�ำหนดเงื่อนไข
           เวลำขอใช้สิทธิประโยชน์หรือกำรสิ้นสิทธิประโยชน์ตำมพระรำชบัญญัติประกันสังคมฯ มำตรำ ๕๖ วรรคหนึ่ง และ
           มำตรำ ๖๕ วรรคหนึ่ง ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๙ และมำตรำ ๓๐ ศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ

           ...กำรก�ำหนดระยะเวลำยื่นค�ำร้องขอรับประโยชน์ทดแทนภำยในหนึ่งปีก็มีผลใช้บังคับกับลูกจ้ำงทุกคน... เงื่อนไข
           ดังกล่ำวไม่กระทบกระเทือนสำระส�ำคัญแห่งสิทธิและเสรีภำพของบุคคล และมีผลใช้บังคับเป็นกำรทั่วไป มิได้
           มุ่งหมำยให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่ง หรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นกำรเจำะจง และไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติ

           โดยไม่เป็นธรรมตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๙ และ ๓๐ (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๓/๒๕๔๖)
                             คดีที่ผู้ร้องอ้ำงว่ำ ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ ๒๓๖ ขัดต่อหลักควำม
           เท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญนั้น ศำลรัฐธรรมนูญเห็นว่ำ กฎหมำยดังกล่ำวเป็นบทบัญญัติให้สิทธิแก่คู่ควำมยื่นค�ำร้อง

           อุทธรณ์ค�ำสั่งของศำลชั้นต้นที่ปฏิเสธไม่ยอมรับอุทธรณ์ต่อศำลอุทธรณ์ หำกเห็นว่ำค�ำสั่งของศำลชั้นต้นไม่ชอบด้วย
           กฎหมำย จึงเป็นบทบัญญัติที่บังคับใช้โดยทั่วไป (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๐/๒๕๔๙)




                 147   เช่น Article 4 (1) EU Framework Directive ก�ำหนดว่ำกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติไม่ถือ
          เป็นกำรเลือกปฏิบัติหำกมีเหตุผลเกี่ยวกับควำมจ�ำเป็นตำมลักษณะเฉพำะของงำนนั้น




                                                        278
   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284