Page 278 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 278

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                 ซึ่งไม่กระทบกระเทือนถึงสำระส�ำคัญแห่งสิทธิและเสรีภำพ มีผลใช้บังคับเป็นกำรทั่วไป และไม่มุ่งหมำยให้ใช้บังคับ

                 แก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นกำรเจำะจง และไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๓๐
                 นอกจำกนี้ มีข้อสังเกตว่ำตำมรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐ ยังมิได้ระบุถึง “ควำมพิกำร” ไว้เป็นเหตุหนึ่งตำมมำตรำ ๓๐
                 อย่ำงชัดแจ้ง (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๖/๒๕๔๕)

                                  # กรณีที่มีกำรอ้ำงว่ำ พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรฝ่ำยอัยกำร พ.ศ. ๒๕๒๑ มำตรำ ๓๓
                 (๑๑) ที่ก�ำหนดคุณสมบัติผู้สมัครเข้ำรับกำรคัดเลือกว่ำ “ไม่เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ หรือคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ

                 หรือจิตฟันเฟือนไม่สมประกอบ หรือมีกำยหรือจิตใจไม่เหมำะสมที่จะเป็นข้ำรำชกำรอัยกำร หรือเป็นโรคที่ระบุไว้
                 ในกฎกระทรวง…” นั้น เป็นกำรเลือกปฏิบัติอันขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐ กรณีนี้เห็นได้ว่ำเกี่ยวข้อง
                 กับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ คือ “ควำมพิกำร” แต่ศำลน�ำข้อยกเว้นตำมรัฐธรรมนูญมำวินิจฉัยว่ำ บทบัญญัติของ

                 พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรฝ่ำยอัยกำร พ.ศ.  ๒๕๒๑ มำตรำ ๓๓ (๑๑) เป็นไปตำมควำมจ�ำเป็นและควำม
                 เหมำะสมของฝ่ำยอัยกำร เป็นลักษณะตำมข้อยกเว้นของรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๙ ซึ่งไม่กระทบกระเทือนถึงสำระ

                 ส�ำคัญแห่งสิทธิและเสรีภำพ มีผลใช้บังคับเป็นกำรทั่วไปและไม่มุ่งหมำยให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือแก่บุคคล
                 ใดบุคคลหนึ่งเป็นกำรเจำะจง และไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๓๐ (ค�ำวินิจฉัย
                 ศำลรัฐธรรมนูญที่ ๔๔/๒๕๔๕)

                                  # กรณีที่มีกำรอ้ำงว่ำ บทบัญญัติของพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำรศำลยุติธรรม
                 พ.ศ. ๒๕๔๓ มำตรำ ๒๖ (๑๐) ที่ก�ำหนดคุณสมบัติผู้สมัครเข้ำรับกำรคัดเลือกไว้ว่ำ “(๑๐) ไม่เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ
                 คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ คนวิกลจริต หรือจิตฟันเฟือนไม่สมประกอบ หรือมีกำยหรือจิตใจไม่เหมำะสมที่จะเป็น

                 ข้ำรำชกำรตุลำกำร หรือเป็นโรคที่ระบุไว้ในระเบียบของ ก.ต” นั้น ผู้ร้องเห็นว่ำ กำรตัดสิทธิสอบของบุคคลด้วยเหตุผล
                 ดังกล่ำว ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องสภำพทำงกำยหรือควำมพิกำร
                 บทบัญญัติแห่งกฎหมำยดังกล่ำวจึงขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๓๐

                 ศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำลักษณะสภำพของงำนแล้วเห็นว่ำ ควำมพิกำรมิได้เป็นอุปสรรคต่อกำรปฏิบัติหน้ำที่ของ
                 ผู้จะเป็นข้ำรำชกำรตุลำกำร ที่จะมีผลต่อกำรให้ควำมเป็นธรรมแก่คู่ควำมหรือผู้เกี่ยวข้อง พระรำชบัญญัติระเบียบ

                 ข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำรศำลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ มำตรำ ๒๖ วรรคหนึ่ง (๑๐) ในส่วนที่บัญญัติให้ผู้สมัครสอบคัด
                 เลือกเพื่อบรรจุเป็นข้ำรำชกำรตุลำกำรต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ำมว่ำ “มีกำยหรือจิตใจไม่เหมำะสมที่
                 จะเป็นข้ำรำชกำรตุลำกำร” จึงขัดต่อสิทธิของคนพิกำรในกำรเข้ำท�ำงำนบนพื้นฐำนที่เท่ำเทียมกับบุคคลทั่วไปตำม

                 อนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิคนพิกำรของสหประชำชำติ และเป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อบุคคลโดยไม่เป็นธรรมเพรำะเหตุแห่ง
                 ควำมแตกต่ำงในเรื่องควำมพิกำร ตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๓๐ วรรคสำม (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๕/๒๕๕๕)



                              จะเห็นได้ว่ำ ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๕/๒๕๕๕ นี้มีประเด็นส�ำคัญเช่นเดียวกับค�ำวินิจฉัย
                 ศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๖/๒๕๔๕ และค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๔๔/๒๕๔๕ กล่ำวคือ กฎหมำยก�ำหนดคุณสมบัติ

                 ผู้สมัครเข้ำรับรำชกำรแตกต่ำงกันด้วยเหตุสภำพร่ำงกำยโดยเฉพำะกรณีของควำมพิกำร ซึ่งจัดอยู่ในเหตุแห่งกำรเลือก
                 ปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน อย่ำงไรก็ตำม สองคดีแรกเป็นกำรพิจำรณำตำมรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐ ซึ่งมิได้
                 ระบุ “ควำมพิกำร” ไว้อย่ำงชัดเจน ในขณะที่คดีหลังนั้นตัดสินตำมรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๕๐ ซึ่งระบุ “ควำมพิกำร” ไว้

                 อย่ำงชัดเจน ทั้งนี้ เนื่องจำกประเทศไทย ได้ให้สัตยำบันอนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิคนพิกำร (Convention on the Rights of
                 Persons with Disabilities : CRPD) ของสหประชำชำติ เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎำคม ๒๕๕๑ ซึ่งมีผลบังคับให้ประเทศไทย





                                                              277
   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283