Page 277 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 277

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ




           ท�ำให้สำมีภริยำต้องเสียภำษีเพิ่มขึ้นจำกกรณีที่ต่ำงฝ่ำยต่ำงแยกยื่นเมื่อยังไม่มีกำรสมรส ประกอบกับมำตรำ ๕๗ เบญจ
           บัญญัติให้แต่เฉพำะภริยำที่มีเงินได้พึงประเมินตำมมำตรำ ๔๐ (๑) สำมำรถแยกยื่นรำยกำร และเสียภำษีต่ำงหำกจำก
           สำมี โดยมิให้ถือว่ำเป็นเงินได้ของสำมีตำมมำตรำ ๕๗ ตรี จึงถือว่ำเป็นกำรไม่ส่งเสริมควำมเสมอภำคของชำยและหญิง

           และยังเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องสถำนะของบุคคลภำยหลัง
           จำกกำรสมรส ตำมที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๓๐...” (ค�ำวินิจฉัยศ�ำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๗/๒๕๕๕) จะเห็น

           ได้ว่ำ ในคดีนี้ศำลรัฐธรรมนูญได้ตัดสินอย่ำงสอดคล้องกับหลักควำมเท่ำเทียมกันและกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ เนื่องจำก
           กฎหมำยดังกล่ำวก่อให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมกันด้วยเหตุแห่ง “สถำนะของบุคคลภำยหลังกำรสมรส”





                         กรณีพระรำชบัญญัติสัญชำติ พ.ศ. ๒๕๐๘ ไม่ได้ให้สิทธิแก่ชำยต่ำงด้ำวที่สมรสกับหญิงไทยใน
           กำรที่จะได้สัญชำติ โดยกำรแปลงสัญชำติได้เช่นเดียวกับหญิงต่ำงด้ำวที่สมรสกับชำยสัญชำติไทยนั้น ศำลรัฐธรรมนูญ

           พิจำรณำแล้วเห็นว่ำ พระรำชบัญญัติสัญชำติ พ.ศ. ๒๕๐๘ มำตรำ ๙ วรรคหนึ่งบัญญัติว่ำ “หญิงซึ่งเป็นคนต่ำงด้ำว
           และได้สมรสกับผู้มีสัญชำติไทย ถ้ำประสงค์จะได้สัญชำติไทย ให้ยื่นค�ำขอต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ตำมแบบและวิธีกำรที่
           ก�ำหนดในกฎกระทรวง” เมื่อพิจำรณำแล้วไม่ถือเป็นบทบัญญัติที่ก่อให้เกิดควำมไม่เสมอภำคกันในกฎหมำยระหว่ำง

           ชำยและหญิง หรือเป็นกำรท�ำให้ชำยและหญิงไม่ได้มีสิทธิเท่ำเทียมกัน ด้วยเหตุที่เป็นมำตรกำรที่รัฐก�ำหนดขึ้นให้
           เหมำะสมกับสภำพสังคมและควำมมั่นคงของประเทศ ซึ่งมิได้ตัดสิทธิของชำยต่ำงด้ำวที่สมรสกับหญิงสัญชำติไทย

           ก็อำจได้สัญชำติไทยตำมหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตำมที่กฎหมำยบัญญัติ คือ มำตรำ ๑๐ ๑๑ และ ๑๒ ซึ่งไม่ได้ยุ่งยำก
           และก่อให้เกิดปัญหำในสถำนะของบุคคลแต่ประกำรใด จึงมิใช่เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพรำะ
           เหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องเพศ (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๓๗/๒๕๔๖) จำกค�ำวินิจฉัยคดีนี้ หำกเปรียบเทียบ

           ระหว่ำงกรณีชำยไทยสมรสกับหญิงต่ำงด้ำว กับกรณีชำยต่ำงด้ำวสมรสกับหญิงไทยนั้น จะเห็นได้ว่ำ กำรได้สัญชำติ
           ไทยของคนต่ำงด้ำวทั้งสองกรณีอยู่ภำยใต้หลักกฎหมำยที่แตกต่ำงกัน โดยหลักแล้วเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันใน

           ระดับหลักกำรของกฎหมำยและเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติคือเพศ แต่ศำลวินิจฉัยว่ำไม่เป็นกำรเลือก
           ปฏิบัติเนื่องจำกน�ำปัจจัยเหตุผลด้ำนอื่นมำประกอบกำรพิจำรณำ เช่น ชำยต่ำงด้ำวยังมีช่องทำงอื่นตำมกฎหมำยใน
           กำรได้มำซึ่งสัญชำติไทย นอกจำกนี้ ยัง “เป็นมำตรกำรรัฐที่ก�ำหนดขึ้นให้เหมำะสมกับสภำพสังคมและควำมมั่นคง

           ของประเทศ” ซึ่งอำจพิจำรณำเปรียบเทียบได้กับหลัก “ขอบแห่งดุลพินิจ” (Margin of Appreciation) ดังจะได้
           แยกวิเครำะห์ต่ำงหำก





                         กรณีเกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุสภำพร่ำงกำย โดยเฉพำะกรณี “ควำมพิกำร” นั้น พบว่ำ
           มีค�ำวินิจฉัย ๓ กรณีที่ส�ำคัญ คือ

                            # กรณีที่มีกำรอ้ำงว่ำ บทบัญญัติของพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำรศำลยุติธรรม
           พ.ศ. ๒๕๔๓ มำตรำ ๒๖ (๑๐) ที่ก�ำหนดคุณสมบัติผู้สมัครเข้ำรับกำรคัดเลือกไว้ว่ำ “(๑๐) ไม่เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ

           คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ คนวิกลจริต หรือจิตฟันเฟือนไม่สมประกอบ หรือมีกำยหรือจิตใจไม่เหมำะสมที่จะเป็น
           ข้ำรำชกำรตุลำกำร หรือเป็นโรคที่ระบุไว้ในระเบียบของ ก.ต” นั้น เป็นกำรเลือกปฏิบัติอันขัดต่อรัฐธรรมนูญฉบับปี
           ๒๕๔๐ กรณีนี้เห็นได้ว่ำเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ คือ “ควำมพิกำร” แต่ศำลน�ำข้อยกเว้นตำมรัฐธรรมนูญ

           มำวินิจฉัยว่ำ เป็นลักษณะตำมข้อยกเว้นของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ มำตรำ ๒๙




                                                        276
   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282