Page 275 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 275
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
กรณีที่เกี่ยวข้องกับ “สถำนะทำงเศรษฐกิจ” นั้น มีประเด็นที่ผู้ร้องกับพวกอ้ำงว่ำ ประมวล
146
กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ ๑๕๖ วรรคห้ำ บัญญัติให้คู่ควำมที่ขอด�ำเนินคดีอย่ำงคนอนำถำมีสิทธิ
อุทธรณ์ต่อไปได้ ค�าสั่งของศาลอุทธรณ์เช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด นั้นเป็นกำรตัดสิทธิหรือปิดโอกำสผู้ซึ่งมีฐำนะยำกจนไม่มี
เงินเพียงพอหรือไม่มีทรัพย์สินอื่นใดที่จะน�ำมำช�ำระค่ำธรรมเนียมศำลต้องถูกจ�ำกัดสิทธิ อันเป็นกำรขัดหรือแย้งต่อ
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ ๒๙ และ ๓๐ ศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ “ ... การที่ให้ค�าสั่งของ
ศาลอุทธรณ์เป็นที่สุดนั้นเนื่องจากปัญหาที่ว่าบุคคลนั้นเป็นคนยากจนหรือไม่ ได้รับการพิจารณามาแล้วถึงสองศาล
และปัญหาข้อนี้ไม่ใช่ประเด็นในคดีโดยตรง จึงควรให้ยุติที่ศาลอุทธรณ์ ไม่ควรให้ยืดเยื้อฎีกาต่อไปได้อีก ซึ่งเหมำะ
สมและเป็นธรรมแก่คู่ควำมแล้ว กรณีดังกล่าวแม้เป็นการจ�ากัดสิทธิอยู่บ้างแต่ก็เป็นการจ�ากัดเท่าที่จ�าเป็นและไม่
กระทบกระเทือนสาระส�าคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพ นอกจากนี้ ยังใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่ได้มุ่งหมายให้ใช้บังคับ
แก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง เป็นบทบัญญัติที่ใช้กับคู่ควำมอย่ำงเท่ำเทียมกัน โดย
ไม่ค�ำนึงถึงฐำนะของคู่ควำมแต่อย่ำงใด ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ ๑๕๖ วรรคห้ำจึงไม่ขัดหรือ
แย้งกับรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๙ และ ๓๐ (ค�ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๕/๒๕๔๙) คดีนี้มีประเด็นเฉพำะเกี่ยวกับ
หลักกำรตำมกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่งในส่วนที่จ�ำกัดกำรอุทธรณ์ค�ำสั่งศำลเกี่ยวกับกำรยกเว้นค่ำธรรมเนียม
โดยให้ค�ำสั่งศำลอุทธรณ์เป็นที่สุด ซึ่งผู้ร้องเห็นว่ำเป็นกำรจ�ำกัดสิทธิและท�ำให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมกัน ในประเด็น
นี้จะเห็นได้ว่ำหลักกำรดังกล่ำวใช้บังคับกับคู่ควำมทุกคนเท่ำเทียมกัน กล่ำวคือ คู่ควำมที่โต้แย้งค�ำสั่งศำลในกรณีมี
ค�ำสั่งอนุญำตให้ยกเว้นค่ำธรรมเนียมศำลหรือค�ำสั่งให้ยกค�ำร้องนั้น จะถูกจ�ำกัดสิทธิโต้แย้งโดยให้ยุติที่ศำลอุทธรณ์
ในส่วนนี้จึงไม่มีกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยฐำนะทำงเศรษฐกิจ อย่ำงไรก็ตำม ผู้วิจัยเห็นว่ำยังมีประเด็นอื่นที่
เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติแต่มิได้เป็นประเด็นในคดีนี้ กล่ำวคือ กำรที่กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่งให้สิทธิ
คู่ควำมขอด�ำเนินคดีอย่ำงคนอนำถำนั้นเป็นกำรเลือกปฏิบัติหรือไม่ จะเห็นได้ว่ำกฎหมำยดังกล่ำวเป็นกฎหมำยที่
ปฏิบัติต่อบุคคลที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่ง “สถำนะทำงเศรษฐกิจ” แต่ทั้งนี้ไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ เนื่องจำกกฎหมำย
มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้เสียเปรียบทำงสถำนะดังกล่ำวได้มีโอกำสเท่ำเทียมกันในกำรด�ำเนินคดีในศำล
กรณีที่เกี่ยวข้องกับควำมเท่ำเทียมและกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศนั้น พบว่ำมีกรณีที่
ผู้ร้องอ้ำงว่ำประมวลรัษฎำกรเลือกปฏิบัติต่อบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศ เนื่องจำกก�ำหนดให้ผู้ร้อง (สำมี) ต้องน�ำเงินได้
ของภริยำ ซึ่งเป็นรำยได้อื่นที่ไม่ใช่รำยได้ตำมประมวลรัษฎำกร มำตรำ ๔๐ (๑) มำรวมค�ำนวณเป็นเงินได้ของผู้ร้อง
โดยไม่ก�ำหนดให้สำมีมีสิทธิแยกยื่นรำยกำรและเสียภำษีต่ำงหำก เฉพำะส่วนที่เป็นเงินได้พึงประเมินตำมมำตรำ ๔๐
(๑) ด้วย จึงเป็นกฎหมำยที่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องเพศ ประเด็นนี้มีค�ำวินิจฉัย
ของศำลรัฐธรรมนูญสองคดี ซึ่งวินิจฉัยไว้แตกต่ำงกัน คดีแรกตัดสินตำมรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐ คดีที่สองตัดสิน
ตำมรัฐธรรมนูญฉบับ ปี ๒๕๕๐
146 คดีนี้ตัดสินก่อนมีกำรแก้ไขประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง ทั้งนี้ ต่อมำในปี ๒๕๕๑ มำตรำ ๑๕๖ ได้มีกำรแก้ไข
เพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง (ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยหลักกำรเกี่ยวกับกำร
อุทธรณ์ค�ำสั่งปรำกฎในมำตรำ ๑๕๖/๑ ดังนี้ ในกรณีที่ศำลมีค�ำสั่งอนุญำตให้ยกเว้นค่ำธรรมเนียมศำลให้แต่เฉพำะบำงส่วน หรือมี
ค�ำสั่งให้ยกค�ำร้อง ผู้ขออำจอุทธรณ์ค�ำสั่งนั้นต่อศำลได้ภำยในก�ำหนดเจ็ดวันนับแต่วันมีค�ำสั่ง ค�ำสั่งของศำลอุทธรณ์เช่นว่ำนี้ให้เป็น
ที่สุด อย่ำงไรก็ตำม หลักกำรตำมกฎหมำยที่แก้ไขใหม่ยังคงให้ค�ำสั่งของศำลอุทธรณ์เป็นที่สุดเช่นเดียวกับกรณีตำมคดีนี้
274