Page 273 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 273
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
ปรำกฏว่ำหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้เป็นกรณีพิเศษนี้มิได้มีกำรประกำศให้สำธำรณชนทรำบโดยทั่วไป
แม้จะปรำกฏว่ำมีอยู่ในหนังสือครบรอบ ๑๕ ปี ของโรงเรียนก็ตำม ก็ไม่อำจถือได้ว่ำประกำศให้สำธำรณชนทรำบด้วย
หลักเกณฑ์นี้ยังเป็นหลักเกณฑ์ที่ให้ควำมได้เปรียบแก่บุคคลบำงกลุ่ม ผู้ปกครองที่ไม่มีบุตรหรือธิดำเรียนในโรงเรียน
และประสงค์จะให้บุตรหรือธิดำเข้ำเรียนในโรงเรียนนี้ก็จะไม่ทรำบหลักเกณฑ์ดังกล่ำว คณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์
เห็นว่ำ กำรน�ำหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดขึ้นเป็นกรณีพิเศษนี้มำใช้ในกำรคัดเลือกนักเรียนนั้น มิได้เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์
ของกำรจัดตั้งโรงเรียน ส. ทั้งยังเป็นกำรเปิดโอกำสให้โรงเรียนใช้ดุลพินิจได้ตำมอ�ำเภอใจ อันเป็นกำรเลือกปฏิบัติให้
เป็นคุณแก่บุคคลบำงกลุ่มเท่ำนั้น จึงไม่เป็นธรรมต่อนักเรียนที่สมัครสอบคัดเลือกเข้ำเรียนในโรงเรียนโดยทั่วหน้ำกัน
อันเป็นกำรขัดต่อหลักควำมเสมอภำคของบุคคลในกำรเสำะแสวงหำโอกำสที่จะเข้ำรับกำรศึกษำในโรงเรียนของรัฐ 145
ผู้วิจัยมีข้อพิจำรณำว่ำ กรณีนี้เป็นกฎเกณฑ์หรือนโยบำยที่ปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกัน โดยหลักแล้ว
เป็นกำรขัดต่อหลักควำมเสมอภำค และอำจน�ำไปสู่กำรใช้ดุลพินิจตำมอ�ำเภอใจ แต่หำกพิจำรณำในกรอบกฎหมำย
สิทธิมนุษยชนจะเห็นได้ว่ำ เหตุแห่งกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงดังกล่ำว ไม่มีควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเหตุแห่งกำรเลือก
ปฏิบัติ เช่น เชื้อชำติ สีผิว เพศ ศำสนำ ฯลฯ อย่ำงไรก็ตำม หำกมีข้อเท็จจริงว่ำกำรคัดเลือกเฉพำะนักเรียนที่ผู้ปกครอง
หรือผู้ฝำกให้กำร “สนับสนุน” โรงเรียน โดยมีกำรบริจำคทรัพย์สิน อำจเกี่ยวข้องกับกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันด้วยเหตุ
“ฐำนะทำงเศรษฐกิจ” หรือในกรณีกำรคัดเลือกนักเรียนที่สืบเชื้อสำยจำกอำจำรย์ในโรงเรียน อำจเกี่ยวข้องกับกำร
ปฏิบัติแตกต่ำงกันด้วยเหตุ “บรรพบุรุษ”
ค�าวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ที่ ๑๓/๒๕๔๐
คณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์เห็นว่ำ กำรเคหะแห่งชำติผ่อนผันผู้เช่ำซื้ออำคำรบำงคน ทั้งที่ล่วงเลย
ก�ำหนดระยะเวลำตำมแนวปฏิบัติที่กำรเคหะแห่งชำติก�ำหนดไว้ แต่ไม่ผ่อนผันผู้เช่ำซื้ออำคำรบำงคนนั้น ไม่มีเหตุผล
อันสมควร ซึ่งถือได้ว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อผู้ร้องทุกข์ที่ไม่เท่ำเทียมกันกับรำยอื่น กำรเคหะแห่งชำติมีวัตถุประสงค์
ในกำรด�ำเนินงำนเพื่อให้ควำมช่วยเหลือในด้ำนที่อยู่อำศัยให้แก่ประชำชนผู้มีรำยได้น้อยและรำยได้ปำนกลำง
กำรปฏิบัติงำนของกำรเคหะแห่งชำติจึงควรมุ่งเน้นในทำงอ�ำนวยควำมสะดวกให้แก่ผู้เช่ำซื้อภำยในกรอบระเบียบ
หลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติที่ก�ำหนดซึ่งได้ประกำศล่วงหน้ำให้ทรำบทั่วกัน และควรปฏิบัติต่อผู้เช่ำซื้อทุกรำยโดย
เท่ำเทียมกัน
ผู้วิจัยมีข้อพิจำรณำว่ำ กรณีนี้กำรเลือกผ่อนผันเฉพำะผู้เช่ำซื้อบำงรำยเป็นกำรปฏิบัติต่อบุคคล
แตกต่ำงกัน แต่ไม่มีข้อเท็จจริงว่ำเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนแต่อย่ำงใด จึงเป็น
กรณีกำรเลือกปฏิบัติในควำมหมำยที่แตกต่ำงและกว้ำงกว่ำกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน อย่ำงไรก็ตำม
หำกมีข้อเท็จจริงปรำกฏว่ำ กำรผ่อนผันแก่ผู้เช่ำซื้อบำงรำยนั้นเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น เชื้อชำติ
เพศ ศำสนำ ฯลฯ ดังนี้อำจจัดเป็นกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนได้
145 สมคิด เลิศไพฑูรย์, “หลักควำมเสมอภำค,” วำรสำรนิติศำสตร์ ๓๐, ๒ (มิถุนำยน ๒๕๔๓): ๑๗๘-๑๘๑.
272