Page 272 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 272

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





               ว่ำ กำรที่บุคคลใดจะอ้ำงหลักแห่งควำมเสมอภำคเพื่อเรียกร้องให้ปฏิบัติต่อตนเป็นอย่ำงเดียวกันนั้น ย่อมท�ำได้เฉพำะเพื่อ
               เรียกร้องให้ปฏิบัติในสิ่งที่ชอบด้วยกฎหมำยเท่ำนั้น ผู้ที่กระท�ำกำรโดยไม่ชอบด้วยกฎหมำยจึงไม่อำจอ้ำงในท�ำนองที่ว่ำถูก
               เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อตนได้ (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๖๐-อ.๑๙๗/๒๕๕๑)

                            จะเห็นได้ว่ำ กำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ในบริบทของคดีปกครอง (มำตรำ ๙ ของพระรำชบัญญัติ
               จัดตั้งศำลปกครองและวิธีพิจำรณำคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒) นั้น มีขอบเขตและลักษณะที่แตกต่ำงจำก “กำรเลือก
               ปฏิบัติ” ในบริบทของกฎหมำยสิทธิมนุษยชน เนื่องจำกเป็นกำรพิจำรณำ “กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน” ในกรอบของกำร

               ตรวจสอบกำรใช้อ�ำนำจรัฐโดยมิชอบ และมักมีข้อเท็จจริงที่สัมพันธ์กับ “กำรใช้ดุลพินิจของฝ่ำยปกครองโดยมิชอบ” จึง
               อำจครอบคลุมถึงกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันโดยไม่เป็นธรรม กำรใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ ด้วยเหตุใด ๆ ที่กว้ำงกว่ำเหตุแห่งกำร

               เลือกปฏิบัติ เช่น เชื้อชำติ เพศ ศำสนำ ฯลฯ ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน




                     ๔.๔.๔ การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: ค�าวินิจฉัยของคณะกรรมการ
               วินิจฉัยร้องทุกข์ คณะกรรมการกฤษฎีกา



                            ก่อนที่จะมีกำรจัดตั้งศำลปกครองนั้น ปรำกฏว่ำมีค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ คณะกรรมกำร
               กฤษฎีกำ ในประเด็นที่เกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติ ซึ่งมีกำรกล่ำวอ้ำงและกำรวินิจฉัยในขอบเขตที่กว้ำงกว่ำ “เหตุแห่งกำร

               เลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน ดังตัวอย่ำงต่อไปนี้


                                        ค�าวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ที่ ๒๕/๒๕๔๓



                              คณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ได้วินิจฉัยในเรื่องที่เกี่ยวกับกำรรับนักเรียนเข้ำโรงเรียน ส. ซึ่งเป็น
                 โรงเรียนของรัฐแห่งหนึ่ง ว่ำ หลักเกณฑ์ที่โรงเรียนได้ก�ำหนดไว้เป็นกรณีพิเศษและน�ำมำใช้คัดเลือกนักเรียนจำกกำร

                 สอบด้วยนั้น ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ ๔ ประกำร คือ
                              (๑) พิจำรณำรับบุตรหรือธิดำของผู้ปกครองนักเรียน ซึ่งมีบุตรธิดำอยู่ในโรงเรียนแล้ว โดยผู้ปกครองนั้น
                                   ได้ร่วมมือในกำรสนับสนุนช่วยเหลือกิจกำรโรงเรียนด้วยดีมำโดยตลอด

                              (๒) พิจำรณำรับบุตรหลำนของอำจำรย์ในโรงเรียนหรือบุตรหลำนของบูรพำจำรย์
                              (๓) พิจำรณำรับบุตรหรือธิดำของผู้ที่ท�ำประโยชน์ต่อโรงเรียน มหำวิทยำลัย หรือประเทศชำติ แม้จะ
                                   ไม่มีพี่น้องอยู่ในโรงเรียนนี้มำก่อน และ

                              (๔) พิจำรณำรับเด็กของผู้ฝำกที่ส�ำคัญจำกส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ที่ให้กำรสนับสนุนช่วยเหลือรำชกำร
                                   โรงเรียน หรือมหำวิทยำลัย


















                                                               271
   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277