Page 270 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 270
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
รับบริกำรจำกภำครัฐโดยส่งผลเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันระหว่ำงผู้ขอใช้บริกำร ด้วยเหตุแห่งกำรเป็นผู้เช่ำหรือผู้มีสิทธิ
ครอบครองที่ดิน ซึ่งเหตุดังกล่ำวนี้มิได้จัดอยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติดังเช่น เพศ เชื้อชำติ ศำสนำ ฯลฯ
จะเห็นได้ว่ำในคดีปกครองที่เกี่ยวข้องกับบริกำรสำธำรณะนั้น ศำลปกครองพิจำรณำประเด็นกำรเลือก
ปฏิบัติอย่ำงกว้ำง โดยกำรเลือกปฏิบัติในบริบทนี้ ครอบคลุมเหตุต่ำง ๆ กว้ำงกว่ำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติโดยทั่วไป เช่น
เพศ ศำสนำ เชื้อชำติ ฯลฯ เนื่องจำกศำลน�ำหลักกฎหมำยปกครองเกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติในบริกำรสำธำรณะมำปรับใช้
ดังจะเห็นได้จำกค�ำพิพำกษำที่ศำลปกครองอธิบำยไว้ว่ำ “ระเบียบกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค ว่ำด้วยกำรใช้ไฟฟ้ำและบริกำร
ของกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค พ.ศ. ๒๕๓๔ และค�ำสั่งกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคที่ อ.๕/๒๕๓๑ เรื่อง อัตรำค่ำธรรมเนียมกำรใช้
ไฟฟ้ำและค่ำบริกำร ลงวันที่ ๑ สิงหำคม ๒๕๓๑ ไม่มีข้อควำมในข้อใดหรือตอนใดขัดหรือแย้งต่อหลักกฎหมายปกครอง
ทั่วไปที่ว่า หน่วยงานทางปกครองที่มีอ�านาจหน้าที่จัดท�ากิจการบริการสาธารณะต้องจัดท�าบริการสาธารณะให้มีความ
ต่อเนื่องไม่หยุดชะงัก ต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกิจการบริการสาธารณะให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนอยู่
เสมอและไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อประชาชนผู้ขอใช้บริการ หรือขัดหรือแย้งต่อพระรำชบัญญัติกำรไฟฟ้ำ
ส่วนภูมิภำค พ.ศ. ๒๕๐๓ ที่บัญญัติว่ำกำรด�ำเนินกิจกำรของกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคให้ค�ำนึงถึงควำมปลอดภัย ประโยชน์
ของรัฐและประชำชน แต่อย่ำงใด” (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๖๒/๒๕๕๒)
ในกำรพิจำรณำว่ำค�ำสั่งหรือกำรกระท�ำทำงปกครองที่พิพำทเป็นกำร “กำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม”
หรือไม่นั้น ศำลได้เคยเปรียบเทียบลูกจ้ำงกลุ่มต่ำง ๆ ซึ่งได้รับกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุล�าดับหรือช่วงเวลาที่สมัคร
เข้ำเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพแตกต่ำงกัน ว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ดังเช่น ค�ำพิพำกษำศำลปกครอง
สูงสุดที่ อ.๑๔๘/๒๕๔๙ ศำลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่ำ หลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดใน (ข) ของประกำศอธิบดีกรมสรรพำกรเกี่ยว
กับภำษีเงินได้ (ฉบับที่ ๘๐) จะเห็นว่ำลูกจ้ำงที่สมัครเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพที่มีอำยุไม่ต�่ำกว่ำห้ำสิบปีบริบูรณ์
และท�ำงำนอยู่กับนำยจ้ำงมำแล้วไม่น้อยกว่ำห้ำปีและเกษียณอำยุก่อนกำรเป็นสมำชิกครบห้ำปี จะมีอยู่ด้วยกัน ๓ กลุ่ม
กลุ่มแรก ได้แก่ลูกจ้ำงที่สมัครเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ก่อนวันที่ ๑๓ กันยำยน ๒๕๓๗
กลุ่มที่สอง ได้แก่ ลูกจ้ำงที่สมัครเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ระหว่ำงวันที่ ๑๓ กันยำยน ๒๕๓๗
ถึงวันที่ ๒ กันยำยน ๒๕๓๘ และ
กลุ่มที่สาม ได้แก่ลูกจ้ำงที่สมัครเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ หลังวันที่ ๒ ธันวำคม ๒๕๓๘
กำรที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ประกำศก�ำหนดเฉพำะกลุ่มลูกจ้ำงที่สมัครเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
ระหว่ำงวันที่ ๑๓ กันยำยน ๒๕๓๗ ถึงวันที่ ๒ ธันวำคม ๒๕๓๘ ให้ได้รับสิทธิในกำรยกเว้นภำษีเงินได้ที่ลูกจ้ำงได้รับจำก
กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพเมื่อออกจำกงำนเพรำะเกษียณอำยุ ทั้งที่ลูกจ้างทั้งสามกลุ่มสมัครเป็นสมาชิกกองทุนส�ารองเลี้ยง
ชีพที่มีอายุไม่ต�่ากว่าห้าสิบปีบริบูรณ์ โดยได้ท�างานกับนายจ้างมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปีและได้ออกจากงานเพราะเกษียณ
อายุก่อนการเป็นสมาชิกกองทุนส�ารองเลี้ยงชีพครบห้าปีเหมือนกัน ดังนั้น ประกำศอธิบดีกรมสรรพำกรเกี่ยวกับภำษี
เงินได้ (ฉบับที่ ๘๐) ข้อ (ข) ที่ก�ำหนดเฉพำะลูกจ้ำงที่สมัครเป็นสมำชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพระหว่ำงวันที่ ๑๓ กันยำยน
๒๕๓๗ ถึงวันที่ ๒ ธันวำคม ๒๕๓๘ จึงมีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ตำมมำตรำ ๓๐ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
รำชอำณำจักรไทยฯ ประกอบกับมำตรำ ๙ วรรคหนึ่ง (๑) แห่งพระรำชบัญญัติจัดตั้งศำลปกครองฯ ประกำศดังกล่ำว
จึงไม่ชอบด้วยกฎหมำย
269