Page 269 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 269
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
แก่ผู้เข้ำเสนอรำคำแต่ประกำรใด กรณีที่ผู้ฟ้องคดีขำดคุณสมบัติเพรำะมีผลงำนกำรก่อสร้ำงไม่ถึง ๑๘๕,๐๐๐,๐๐๐ บำท
ย่อมจะไม่ได้รับกำรพิจำรณำในเบื้องต้นให้เป็นผู้มีสิทธิเข้ำประกวดรำคำครั้งที่สอง แม้จะไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ
เกี่ยวกับผลงำนก่อสร้ำงของผู้เสนอรำคำ รำคำที่ผู้ฟ้องคดีเสนอมำก็มิได้รับกำรพิจำรณำเพรำะผู้ฟ้องคดีเสนอรำคำสูงสุด
ในจ�ำนวนผู้เสนอรำคำครั้งที่สองทั้งหมด จึงเห็นได้ว่ำผู้ถูกฟ้องคดีมิได้เลือกปฏิบัติหรือกลั่นแกล้งผู้ฟ้องคดีแต่อย่ำงใด
กรณีนี้จะเห็นได้ว่ำกำรก�ำหนดคุณสมบัติจำกผลงำนก่อสร้ำงนั้นใช้กับผู้เสนอรำคำทุกรำยเหมือนกัน และไม่เกี่ยวข้องกับ
เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ
นอกจำกนี้ ศำลปกครองเคยตัดสินว่ำกำรออกกฎเป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อสิทธิตำมสัญญำ
ซึ่งกรณีดังกล่ำวไม่ปรำกฏว่ำเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น เพศ ควำมพิกำร เชื้อชำติ ศำสนำ ฯลฯ เช่น ค�ำ
พิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ ฟ.๒๖/๒๕๔๖ ศำลปกครองตัดสินว่ำ มติของผู้ถูกฟ้องคดี (คณะรัฐมนตรี) ในกำรให้สิทธิ
พิเศษแก่องค์กำรโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.) ในกำรให้บริกำรเลขหมำยโทรศัพท์แก่หน่วยงำนของรัฐ อันมีผลท�ำให้
ผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นคู่สัญญำร่วมกำรงำนและร่วมลงทุนกับ ทศท. ไม่อำจให้บริกำรแก่หน่วยงำนของรัฐได้ ถือว่ำเป็นกำรออก
กฎอันเป็นกำรลดสิทธิหรือจ�ำกัดสิทธิตำมสัญญำของผู้ฟ้องคดี ซึ่งไม่สอดคล้องกับหลักกำรที่ให้ควำมคุ้มครองสิทธิแก่ผู้เข้ำ
ท�ำสัญญำจัดท�ำบริกำรสำธำรณะหรือสัญญำสัมปทำนกับรัฐ ตำมนัยมำตรำ ๓๓๕ (๒) ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักร
ไทย และมีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อสิทธิตำมสัญญำฯ ของผู้ฟ้องคดี ซึ่งขัดกับหลักควำมเสมอภำคตำม
ที่มำตรำ ๓๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย บัญญัติรับรองไว้ กรณีจึงเป็นกำรใช้อ�ำนำจทำงปกครองของผู้ถูก
ฟ้องคดีมำจ�ำกัดสิทธิของผู้ฟ้องคดีที่มีอยู่ตำมสัญญำ ไม่ใช่เป็นกำรเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญำตำมหลักสัญญำทำงปกครอง
ที่รัฐมีเอกสิทธิ์เหนือเอกชนคู่สัญญำ
ส�ำหรับกำรเลือกปฏิบัติในกำรให้บริกำรภำครัฐนั้น ศำลปกครองเคยตัดสินว่ำกำรให้บริกำรภำครัฐที่
ก�ำหนดเงื่อนไขบำงประกำรอันส่งผลกระทบต่อสิทธิในกำรได้ใช้สำธำรณูปโภคของประชำชนนั้นเป็นกำรเลือกปฏิบัติ เช่น
ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๕๗/๒๕๔๙ ซึ่งเป็นกรณีพิพำทเกี่ยวกับกำรขอใช้ไฟฟ้ำ โดยผู้ฟ้องคดีทั้งแปดสิบสี่คน
ซึ่งเป็นผู้ที่มีทั้งทะเบียนบ้ำนถำวรและทะเบียนบ้ำนชั่วครำวได้ยื่นค�ำร้องพร้อมเอกสำรหลักฐำนประกอบเพื่อขอใช้ไฟฟ้ำ
ในเกำะเสม็ดต่อผู้ว่ำกำรกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค (ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒) แต่ไม่ได้รับอนุญำตให้ใช้ไฟฟ้ำเพรำะผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
ได้ก�ำหนดเงื่อนไขให้ต้องแสดงหลักฐำนเพิ่มเติมนอกเหนือจำกหลักฐำนตำมหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในค�ำแนะน�ำกำรขอ
และใช้ไฟฟ้ำของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ อันได้แก่ ส�ำเนำสัญญำเช่ำที่ดินรำชพัสดุเกำะเสม็ด หรือหนังสือรับรองจำกส�ำนักงำน
ธนำรักษ์ว่ำเป็นผู้เช่ำที่ดินรำชพัสดุเกำะเสม็ด และหำกผู้ขอใช้ไฟฟ้ำอยู่ในเขตอุทยำนแห่งชำติก็ต้องได้รับกำรอนุญำตให้
ใช้ไฟฟ้ำจำกอุทยำนแห่งชำติด้วย เพื่อเป็นมำตรกำรในกำรแก้ไขปัญหำผู้บุกรุกเกำะเสม็ด เนื่องจำกมีผู้ฟ้องคดีบำงรำย
อยู่ในระหว่ำงมีปัญหำโต้แย้งสิทธิครอบครองอยู่ ผู้ฟ้องคดีทั้งแปดสิบสี่คนเห็นว่ำกำรกระท�ำดังกล่ำวเป็นกำรกระท�ำที่
ไม่ชอบด้วยกฎหมำย มีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติหรือมีลักษณะเป็นกำรสร้ำงขั้นตอนโดยไม่จ�ำเป็นแก่ประชำชน ท�ำให้
ผู้ฟ้องคดีไม่มีไฟฟ้ำใช้ในกำรด�ำรงชีพและประกอบธุรกิจตำมปกติที่ควรจะได้รับเช่นบุคคลอื่น ศำลปกครองสูงสุดวินิจฉัย
ว่ำ “..ในกำรให้บริกำรไฟฟ้ำซึ่งเป็นสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนแก่ประชำชน ผู้ถูกฟ้องคดีไม่อำจด�ำเนินกำรใด ๆ ที่จะขัด
ขวำงกำรที่ต้องบริกำรสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนที่รัฐพึงบริกำรให้ประชำชนทุกรำยอย่ำงเสมอภำค อันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐำน
ของประชำชนในกำรมีคุณภำพชีวิตที่ดีที่รัฐควรคุ้มครอง....ผู้ฟ้องคดีทั้งแปดสิบสี่คนย่อมมีสิทธิที่จะได้รับกำรบริกำรให้ใช้
ไฟฟ้ำ ซึ่งกำรที่จะได้รับบริกำรให้ใช้ไฟฟ้ำจำกทำงรำชกำรอันเป็นสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนที่รัฐจะต้องเป็นผู้ให้บริกำร
โดยจะก�ำหนดเงื่อนไขอันเป็นการเลือกปฏิบัติไม่ได้..” จำกคดีนี้จะเห็นได้ว่ำ ค�ำสั่งทำงปกครองก�ำหนดเงื่อนไขในกำรได้
268