Page 266 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 266
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
นักศึกษำทุกคนที่สมัครเข้ำศึกษำในสถำบันกำรศึกษำของผู้ถูกฟ้องคดีตำมหลักกำรและเงื่อนไขต่ำง ๆ เสมอเหมือนกัน
ทุกคน ไม่มีข้อก�ำหนดใดที่จะท�ำให้มีกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมโดยเกิดจำกควำมแตกต่ำงตำมมำตรำ ๓๐ ของ
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยแต่อย่ำงใด (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ อ. ๙/๒๕๔๖)
กรณีนี้เห็นได้ว่ำ โดยเนื้อหำของกฎเกณฑ์ที่พิพำทซึ่งให้ใช้ภำษำอังกฤษในกำรเขียนวิทยำนิพนธ์นั้นใช้
บังคับกับนักศึกษำทุกคน มิได้มุ่งหมำยใช้กับนักศึกษำบำงคนด้วยเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ อย่ำงไรก็ตำม ในอีกแง่หนึ่ง
อำจโต้แย้งได้ว่ำ กฎเกณฑ์นี้แม้ใช้กับนักศึกษำทุกคนเหมือนกัน แต่ส่งผลในทำงปฏิบัติให้นักศึกษำที่ใช้ภำษำไทยเป็น
ภำษำหลักได้รับควำมเสียเปรียบนักศึกษำที่ใช้ภำษำอังกฤษเป็นภำษำหลัก หรือนักศึกษำที่มีควำมช�ำนำญในกำรเขียน
ภำษำอังกฤษ กับนักศึกษำที่ไม่มีควำมช�ำนำญในกำรเขียนภำษำอังกฤษ จึงอำจเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยอ้อมได้ แต่แม้
จะพิจำรณำว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยอ้อมแล้ว ก็ยังต้องพิจำรณำว่ำ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันระหว่ำงนักศึกษำนั้น อยู่บน
พื้นฐำนของเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติหรือไม่ หำกกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันเกิดขึ้นระหว่ำงนักศึกษำที่ถนัดใช้ภำษำอังกฤษ
กับนักศึกษำที่ไม่ถนัดใช้ภำษำอังกฤษ กล่ำวคือเป็นกรณีเหตุ “ควำมสำมำรถทำงภำษำ” อำจไม่เข้ำเหตุแห่งกำรเลือก
ปฏิบัติ แต่หำกข้อเท็จจริงปรำกฏว่ำ กฎเกณฑ์ดังกล่ำวส่งผลให้นักศึกษาบางเชื้อชาติหรือบางภาษาได้รับควำมเสียเปรียบ
นักศึกษำบำงเชื้อชำติหรือบำงภำษำ ดังนี้อำจจัดว่ำเข้ำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติได้
๔.๔.๓ การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: คดีของศาลปกครอง
ประเด็นที่น่ำพิจำรณำก็คือ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันอันไม่อยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ จะเป็นกำร
เลือกปฏิบัติได้หรือไม่ ประเด็นนี้พบว่ำ ในบำงกรณีแม้ว่ำกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้น ไม่ได้เกิดจำกเหตุแห่งกำรเลือก
ปฏิบัติ ดังที่ก�ำหนดไว้ตำมรัฐูธรรมนูญ แต่ศำลปกครองก็ตัดสินว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติ เช่น กรณีของ “คุณวุฒิกำรศึกษำ
เกียรตินิยม” ศำลปกครองตัดสินว่ำ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุเกียรตินิยมนั้นเป็นกำรปฏิบัติต่อบุคคลที่มีสถำนะทำง
กฎหมำยที่เหมือนกันให้แตกต่ำงกัน ย่อมถือได้ว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม” (ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุด
ที่ อ. ๑๕๘/๒๕๕๐) เช่นเดียวกับ ค�ำพิพำกษำที่ตัดสินว่ำ “กำรก�ำหนดให้ผู้ได้รับปริญญำตรีเกียรตินิยมทุกสำขำถือเป็น
เหตุพิเศษที่จะให้ได้รับสิทธิคัดเลือกแทนกำรสอบแข่งขันนั้น เห็นว่ำ เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม” (ค�ำพิพำกษำ
ศำลปกครองสูงสุดที่ อ. ๓๗๙/๒๕๕๐) จะเห็นได้ว่ำ หำกพิจำรณำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
และกฎหมำยต่ำงประเทศแล้วจะพบว่ำ คุณวุฒิเกียรตินิยมหรือคุณวุฒิกำรศึกษำที่บ่งบอกถึงผลกำรศึกษำที่ดีเป็นพิเศษ
นั้น มิได้อยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่นเดียวกับกรณีของ “สถำบันกำรศึกษำ” ดังนั้น กรณีที่องค์กรบำงแห่งก�ำหนด
คัดเลือกบุคคลเข้ำท�ำงำนโดยใช้เกณฑ์ “สถำบันกำรศึกษำ” ที่บุคคลนั้นจบมำ แม้เป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน กล่ำวคือ
เป็นกำรปฏิบัติต่อบุคคลที่จบจำกบำงสถำบันในลักษณะที่พึงพอใจมำกกว่ำ แต่ก็ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ
เช่น เชื้อชำติ ศำสนำ เพศ อย่ำงไรก็ตำม กรณีสถำบันกำรศึกษำนี้ศำลยังไม่เคยวินิจฉัยไว้ว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติหรือไม่
แต่มีประเด็นต่อไปว่ำ หำกกฎเกณฑ์ที่พิพำทมีกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันด้วยเหตุสถำบันกำรศึกษำแต่มีควำมเชื่อมโยงกับ
เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติที่กฎหมำยห้ำม เช่น เชื้อชำติ แหล่งก�ำเนิด ก็มีควำมชัดเจนขึ้นว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ
ที่กฎหมำยก�ำหนด เช่น ผู้ถูกฟ้องคดีชี้แจงว่ำ ผู้มีคุณวุฒิปริญญำโทจำกประเทศอินเดียได้รับกำรพิจำรณำอัตรำเงินเดือน
ต�่ำกว่ำผู้มีคุณวุฒิจำกภำยในประเทศหนึ่งขั้น ผู้ฟ้องคดีจึงเห็นว่ำหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำคุณวุฒิ ส�ำหรับผู้ส�ำเร็จกำรศึกษำ
จำกประเทศอินเดียเป็นกำรเลือกปฏิบัติทำงเชื้อชำติ หรือประเทศอันเป็นที่ตั้งของสถำนศึกษำ (ค�ำพิพำกษำศำลปกครอง
สูงสุดที่ อ. ๒๙๙/๒๕๕๑)
265