Page 264 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 264
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
ตัวอย่ำงเช่น ในคดีปกครองซึ่งมีประเด็นว่ำพระรำชกฤษฎีกำพระรำชทำนอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๙ นั้น
ส่งผลให้เกิดกำรเลือกปฏิบัติต่อนักโทษ โดยนักโทษบำงประเภทอ้ำงว่ำไม่ได้รับกำรลดโทษหรือได้รับโดยไม่เท่ำเทียมกัน
นักโทษประเภทอื่น ศำลวินิจฉัยว่ำไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ เช่น ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุด ที่ ฟ.๔๔/๒๕๕๑ ศำล
ปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่ำ พระรำชกฤษฎีกำพระรำชทำนอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๙ ไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติและเป็นบทบัญญัติ
ที่ออกโดยชอบด้วยกฎหมำยแล้ว
เหตุผลจำกค�ำพิพำกษำศำลที่แสดงให้เห็นถึงกำรน�ำ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” มำประกอบกำรวินิจฉัย
ปรำกฏดังเช่น ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ ฟ.๒๒/๒๕๕๔ ศำลวินิจฉัยว่ำ มำตรำ ๘ แห่ง พ.ร.ฎ. พระรำชทำน
อภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๕๐ มิได้มีลักษณะเป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อผู้ฟ้องคดีและนักโทษเด็ดขำด เช่น ผู้ฟ้องคดีโดยไม่เป็นธรรม
อันเป็นกำรขัดต่อมำตรำ ๓๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ โดยศำลอธิบำยว่ำ “กำรที่ผู้ใช้
อ�ำนำจรัฐปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องถิ่นก�ำเนิด เชื้อชำติ ภำษำ เพศ อำยุ สภำพทำง
กำยหรือสุขภำพ สถำนะของบุคคล ฐำนะทำงเศรษฐกิจหรือสังคม ควำมเชื่อทำงศำสนำ กำรศึกษำอบรม หรือควำมคิด
เห็นทำงกำรเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือในเรื่องอื่นใด จะถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมได้
ก็ต่อเมื่อกำรปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องต่ำง ๆ ดังกล่ำว เป็นไปตำมอ�ำเภอใจของ
ผู้ใช้อ�ำนำจรัฐ ปรำศจำกเหตุผลอันควรค่ำแก่กำรรับฟังเท่ำนั้น” อย่ำงไรก็ตำม ผู้วิจัยมีข้อสังเกตว่ำ คดีนี้แม้ศำลอธิบำยถึง
“เหตุแห่งกำรเลือกปฎิบัติ” แต่ไม่ได้วินิจฉัยอย่างชัดเจนในประเด็นว่า กรณีนี้เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งการเลือกปฎิบัติเหตุใด
เนื่องจำกศำลมุ่งเน้นไปที่กำรพิจำรณำถึงองค์ประกอบ “ไม่เป็นธรรม” โดยใช้อธิบำยว่ำ กำรเลือกปฎิบัติจะถือได้ว่ำ “ไม่
เป็นธรรม” เมื่อเป็นไปตำมอ�ำเภอใจ ปรำศจำกเหตุผลฯ
นอกจำกนี้ ค�ำพิพำกษำศำลปกครองสูงสุดที่ ฟ.๓๑/๒๕๕๓ ได้อธิบำยไว้ชัดเจนว่ำ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำง
กันระหว่ำงนักโทษที่ได้รับโทษตำมฐำนควำมผิดหนึ่งกับนักโทษที่ได้รับโทษตำมฐำนควำมผิดอื่นนั้น ไม่เข้าเหตุแห่งการ
เลือกปฏิบัติตามที่ก�าหนดไว้ในกฎหมาย ดังจะเห็นได้จำกที่ศำลอธิบำยว่ำ “เนื้อหำของพระรำชกฤษฎีกำพระรำชทำน
อภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๗ และพระรำชกฤษฎีกำพระรำชทำนอภัยโทษ พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นกำรปฏิบัติต่อนักโทษเด็ดขำด
ซึ่งต้องโทษตำมค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุกเกินแปดปี แต่ไม่ถึงตลอดชีวิต ในควำมผิดฐำนผลิต น�ำเข้ำหรือส่งออก หรือ
ผลิต น�ำเข้ำหรือส่งออกเพื่อจ�ำหน่ำย หรือจ�ำหน่ำย หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจ�ำหน่ำย ตำมกฎหมำยว่ำด้วยยำเสพติดให้
โทษ กฎหมำยว่ำด้วยมำตรกำรในกำรปรำบปรำมผู้กระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติด หรือกฎหมำยว่ำด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์
ต่อจิตและประสำทแตกต่ำงกับที่ปฏิบัติต่อนักโทษเด็ดขำดซึ่งต้องโทษตำมค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุกไม่ถึงตลอดชีวิตใน
ควำมผิดฐำนอื่น กำรเลือกอภัยโทษเฉพำะนักโทษที่ก�ำหนดไว้ดังกล่ำวยังไม่เป็นเหตุที่จะถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติอย่ำงไม่
เป็นธรรม กำรที่ผู้ใช้อ�ำนำจรัฐปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องถิ่นก�ำเนิด เชื้อชำติ ภำษำ
เพศ อำยุ สภำพทำงกำยหรือสุขภำพ สถำนะของบุคคล ฐำนะทำงเศรษฐกิจหรือสังคม ควำมเชื่อทำงศำสนำ กำรศึกษำ
อบรมหรือควำมคิดเห็นทำงกำรเมือง อันไม่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ หรือในเรื่องอื่นใดจะถือว่ำเป็นกำรเลือก
ปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมได้ก็ต่อเมื่อกำรปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเรื่องต่ำง ๆ ดังกล่ำว”
จำกคดีดังกล่ำว จะเห็นได้ว่ำ ควำมแตกต่ำงที่เกิดเพรำะเหตุ “ประเภทนักโทษ” นั้น มิได้อยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ
ตำมกฎหมำย ดังเช่นกรณี เพศ เชื้อชำติ ฯลฯ แม้เกิดควำมแตกต่ำงกันขึ้นแต่ก็ไม่ถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติ
263