Page 135 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 135
1) เหตุปัจจัยทางด้านแนวคิด
่
ั
มีแนวคิดหลายประการที่เป็นปญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการที่ดินและปาที่ดีตามหลัก
ธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม เช่น
แนวคิดแยกคนออกจากป่ า เป็นแนวคิดพื้นฐานที่หน่วยงานของรัฐใช้ในการกําหนด
่
่
กฎหมายว่าด้วยการปาไม้ การกําหนดเขตปา การกําหนดอํานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ และ
่
้
การกําหนดมาตรการดําเนินการปองกันรักษาและจัดการปา ทําให้ราษฎรที่อาศัยกันอยู่เป็นชุมชนใน
่
เขตปากลายเป็นผู้กระทําผิดกฎหมายโดยไม่มีกระบวนการตรวจสอบพิสูจน์สิทธิที่เหมาะสม และ
่
้
ราษฎรเหล่านั้นจึงไม่สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมกับรัฐในการดูแลปกปองคุ้มครองและใช้ประโยชน์ปา
อย่างยั่งยืนตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญได้ ประเด็นนี้ เจริญ คัมภีรภาพ (2546) ได้ให้ความเห็นไว้
่
ว่าแนวคิดกระแสหลักของกฎหมายที่เกี่ยวกับที่ดินและปาไม้ที่ออกมาในระยะหลังนี้ มีลักษณะแยกส่วน
่
ชุมชนออกจากที่ดินและปาไม้ ด้วยกระแสความคิดหลัก คือ
่
่
1. ราษฎรคือผู้บุกรุกปา และเป็นตัวการสําคัญในการทําลายปาไม้
่
่
2. การจะรักษาปาไม้ได้ก็ด้วยการนําคนเข้าไปทําประโยชน์ในปาสงวนออกมาโดยมาตรการ
ต่าง ๆ ทั้งทางกฎหมายและทางปกครอง
่
3. ปฏิเสธบทบาทของราษฎรในการรักษาปาไม้ สร้างระบบศูนย์เข้าสู่ส่วนกลาง และเสริม
้
่
ทัศนะการปองกันรักษาปาโดยจัดสรรเจ้าหน้าที่คอยควบคุมปราบปราม
่
่
แนวคิดการจัดการป่ า บทบัญญัติต่าง ๆ ในกฎหมายหลักด้านปาไม้ มุ่งจัดการปาเพื่อ
่
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยภาคเอกชนเป็นหลัก ทั้งการเช่าที่ดินปาไม้เพื่อทําการเกษตรเชิงเดี่ยว
่
่
ขนาดใหญ่ ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว หรือการเพาะเลี้ยงสัตว์ปา การค้าสัตว์ปาเชิงพาณิชย์ ซึ่งให้
ั
อํานาจเจ้าหน้าที่มากในการใช้ดุลพินิจในการอนุญาต และที่ผ่านมาเมื่ออนุญาตไปแล้วก็สร้างปญหาขึ้น
่
มากมายเช่นทําลายปาสร้างรีสอร์ทแล้วก็ได้รับการอนุญาตให้เช่าที่ดินทําธุรกิจรีสอร์ทต่อได้ หรือ
่
่
่
่
เพาะเลี้ยงสัตว์ปาและก็มีการสวมรอยค้าสัตว์ปาจากในปาโดยไม่สามารถควบคุมได้จนสัตว์ปาหลาย
ชนิดแทบจะสูญพันธ์ไป แต่ไม่มีแม้แต่มาตราเดียวที่ให้โอกาสราษฎรที่ยากจนหรือเกษตรกรรายย่อยได้
่
่
่
ใช้สิทธิอนุญาตเข้าทําประโยชน์ที่ดินในเขตปาได้ และแม้จะมีโครงการจัดที่ดินปาไม้หรือนําที่ดินปาไม้
่
มามอบให้ ส.ป.ก. ทําการปฏิรูปที่ดิน แต่สุดท้ายก็ไม่อาจช่วยให้ราษฎรในเขตปาได้อยู่อาศัยทํากินได้
อย่างถาวรยั่งยืน
่
รับรองสิทธิหรือให้สิทธิราษฎรและชุมชนได้ดูแลรักษาและใช้ประโยชน์จากปาตามจารีต
่
่
ประเพณีและวัฒนธรรมการอยู่กับปาที่มีอยู่เดิมของเขาและก็พิสูจน์แล้วว่าทําให้ปาอยู่ได้ชุมชนอยู่ได้
ได้ดําเนินการต่อไป
่
ั
แนวคิดเรื่องป่าเสื่อมโทรมและการฟื้นฟูป่า การแก้ไขปญหาปาเสื่อมโทรมสิ้นสภาพให้คืน
่
สภาพเดิมนั้น บทบัญญัติมาตราที่ 20 ให้อธิบดีกรมปาไม้อนุมัติรัฐมนตรีมีอํานาจอนุญาตเป็นหนังสือ
่
่
ให้ราษฎรเข้าไปบํารุงปา หรือปลูกสร้างสวนปา หรือไม้ยืนต้นได้ในพื้นที่ไม่เกิน 20,000 ไร่ หากเกิน
ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี บทบัญญัติมาตราที่ 20 นี้จึงเปิดโอกาส 2 ประการ 1) ทําให้เกิด
่
่
การทําลายปาให้เสื่อมโทรมเพื่อให้เข้าเกณฑ์ขออนุญาต และ 2) ให้นายทุนเข้าไปลงทุนทําสวนปาตาม
่
ระบบอุตสาหกรรมได้ นายทุนบางรายขอเช่าที่ดินโดยอ้างว่าจะปลูกสวนปาหรือไม้ยืนต้น แต่ความจริง
5‐63