Page 137 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 137
่
การดูแลรักษาและใช้ประโยชน์จากปา รวมทั้งการจัดการนํ้าระบบเหมืองฝายซึ่งเป็นรูปแบบการจัดการ
ั
ทรัพยากรบนฐานความรู้ภูมิปญญาของชุมชนบิดเบือนไปจากความเป็นจริง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่
่
่
หน่วยงานปาไม้ในพื้นที่โดยเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการที่ดินปาไม้และหน่วยงาน
่
ั
่
ส่งเสริมปาชุมชนก็มีความเข้าใจในองค์ความรู้และภูมิปญญาในการจัดการปาของชุมชน เอกสารของ
่
่
่
สํานักงานปาชุมชน กรมปาไม้จํานวนมาก็ยืนยันข้อมูลเหล่านี้ แต่เนื่องจากบทบัญญัติในกฎหมายปาไม้
่
่
ทุกฉบับ ได้ให้อํานาจแก่พนักงานเจ้าหน้าที่รัฐในการควบคุมการบริหารจัดการปาแต่เพียงฝายเดียว
่
กฎหมายปาไม้เกิดขึ้นมานานก่อนแนวคิดสิทธิชุมชนจะเป็นที่ยอมรับและเขียนไว้ในกฎหมาย
่
รัฐธรรมนูญจึงไม่ได้รองรับสิทธิชุมชน ทําให้สิทธิชุมชนในแวดวงปาไม้จึงถูกให้ความสําคัญเป็นเพียง
่
แนวความคิดเท่านั้น ตราบใดที่การใช้สิทธิของชุมชนไม่กระทบกฎหมายปาไม้มาก ๆ พนักงาน
เจ้าหน้าที่ก็จะทําเป็นไม่รู้ไม่เห็น แต่เมื่อต้องกระทบกับอํานาจตามกฎหมาย เช่นการทําไร่หมุนเวียน
่
่
การตัดไม้ในปาไปใช้สอย หรือการล่าสัตว์เพื่อเป็นอาหาร ซึ่งทวนกระแสการอนุรักษ์ปาแบบตะวันตก
หรือกระทบกับนโยบายของรัฐ ชุมชนก็จะถูกกระทําโดยวิธีจํากัดการใช้สิทธิ เช่นถูกจํากัดไร่ไม่ให้ใช้
ระบบหมุนเวียนพื้นที่เพาะปลูก หรือห้ามเผาเศษไม้ปลายไม้เพื่อเตรียมพื้นที่ทําไร่ และยิ่งในช่วงกระแส
่
สิ่งแวดล้อมและกระแสโลกร้อนแรง ๆ และรัฐมีนโยบายปลูกฟื้นฟูปาโครงการขนาดใหญ่ทั้งของรัฐและ
่
ภาคเอกชน ชุมชนก็มักจะได้รับผลกระทบสูญเสียที่ทํากินจากโครงการปลูกปาทั้งหลาย
2) ปัญหาจากเนื้อหากฎหมาย
่
ั
กฎหมายที่เกี่ยวกับปาไม้มีปญหามากเพราะสาระของกฎหมายไม่ได้ตั้งอยู่บนฐานความจริง
่
แต่มีสมมุติฐานบนมายาคติหลายประการ เช่น คนจนมักทําลายปา การปราบปรามอย่างเข้มงวด
่
่
่
รุนแรงจะรักษาปาไว้ได้ ปาที่เหลืออยู่เพราะเจ้าหน้าที่รัฐรักษา รัฐเท่านั้นที่จะรักษาปาไว้ได้ จึงทําให้ตัว
บทกฎหมายไม่เป็นธรรม เจ้าหน้าที่รัฐใช้ดุลพินิจชี้ผิดชี้ถูกเองค่อนข้างมาก
่
การออกกฎหมายที่เกี่ยวกับที่ดินและปาไม้ที่ดีและนําไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างน้อยต้องอยู่บน
หลักการสําคัญดังต่อไปนี้
่
1) ยึดมั่นในเจตนารมณ์ของกฎหมาย ไม่ปล่อยให้ฝายการเมืองเข้ามาใช้ช่องว่างหา
ผลประโยชน์
่
2) ต้องมั่นคงในหลักการด้านสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ว่าที่ดินกับปาไม้เป็นทรัพยากร
พื้นฐานที่สําคัญของชีวิตที่มนุษย์ทุกคนต้องเข้าถึงและใช้ประโยชน์เพื่อการดํารงชีพได้อย่างเหมาะสม
่
3) ต้องเน้นการกระตุ้นจูงใจและสร้างแรงบันดาลใจให้ประชาชนเกิดความหวงแหนในที่ดินปา
และฐานทรัพยากรและรักษามันเท่าชีวิตมากกว่าการเน้นการให้รางวัลและลงโทษ
4) ต้องให้ความสําคัญอย่างเท่าเทียมกันกับกระบวนการพัฒนากฎหมาย เนื้อหากฎหมาย
และกลไกการขับเคลื่อนกฎหมายให้ไปสู่การปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับของประชาชน (เพิ่มศักดิ์ มกรา
ภิรมย์, 2553)
ประเด็นสําคัญทางกฎหมายที่ควรปรับปรุงแก้ไขมีดังนี้
่
่
การนิยามและกําหนดพื้นที่ป่า โดยบทบัญญัติของกฎหมายปาไม้ต่างนิยามพื้นที่ “ปา” ใน
ความหมายเดียวกัน คือ ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลใดได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย ทําให้แม้ชุมชนจะมี
หลักฐานการครอบครองที่ดินมาก่อนที่ชัดเจนเพียงใด แต่หากไม่มีการดําเนินการโดยชอบตาม
5‐65