Page 131 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 131
่
่
ั่
ดําเนินคดีและถูกจําคุกข้อหาถางปาทําไร่หมุนเวียนที่ ต.แม่ลาน้อย ปาแม่ยวมฝงซ้าย จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ก็เป็นตัวอย่างของการเลือกปฏิบัติและกระทํารุนแรงต่อราษฎรที่ใช้ที่ดินทําไร่ข้าวตาม
่
ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ทํากันมาแต่รุ่นปูย่าตายาย นอกจากนี้ยังมีการทําลายทรัพย์สินเช่นสวน
่
ผลไม้ สวนยาง การกลบสระหนองนํ้า เช่นที่ตําบลลํานางรอง ตําบลโนนดินแดงและตําบลส้มปอย
การห้ามทําประโยชน์ในที่ดินที่เป็นการจํากัดการทํามาหากิน มีลักษณะการกระทําที่ดูเหมือน
ไม่รุนแรง แต่ความเป็นจริงเป็นการห้ามหรือไม่ให้ชาวบ้านซึ่งเป็นเกษตรกรได้ทําประโยชน์ในที่ดินที่
ั
เป็นข้อพิพาท เช่นห้ามโค่นยางพาราอายุมากให้นํ้ายางน้อยไม่คุ้มค่าเพื่อปลูกใหม่ หรือตัดฟนทําลาย
ยางพาราที่ชาวบ้านปลูกไว้แล้วเช่นในกรณีชุมชนเทือกเขาบรรทัดจังหวัดตรัง
การนําโครงการของรัฐเข้ามาดําเนินการในที่ดินที่ราษฎรและชุมชนอยู่อาศัยใช้ประโยชน์ทํา
กิน กรณีนี้เกิดทั้งในบริเวณที่ดินที่ชาวบ้านใช้ประโยชน์ส่วนบุคคลและที่ดินที่ชุมชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
่
่
่
่
่
เช่นกรณีสวนปาคอนสาร สวนปาโคกยาว สวนปาขุนหาน สวนปาห้วยจันทร์ ซึ่งนําที่ดินทํากินและปา
่
่
ใช้สอยของชุมชนมาทําการปลูกสร้างสวนปา หรือกรณีโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ โครงการ
สถานีพัฒนาเกษตร ที่นําที่ดินของชุมชนมาทําโครงการโดยไม่ได้คํานึงถึงการใช้ที่ดินของชุมชนที่มีอยู่
่
เดิม ช่วงที่มีกระแสสิ่งแวดล้อมและประเด็นโลกร้อนจะมีโครงการปลูกปาเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งละเมิด
สิทธิของชุมชน
่
การจํากัดการพัฒนา หน่วยงานของรัฐที่ดูแลพื้นที่ปาไม่อนุญาตให้มีการก่อสร้างสิ่ง
้
สาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่นถนน แหล่งนํ้า ไฟฟา ประปา หรือนําเครื่องมืออุปกรณ์ที่จําเป็นกับการทํา
มาหากินเข้าไปในพื้นที่ เช่นห้ามนํารถไถนาเข้าไปในพื้นที่
การห้ามสนับสนุนการสงเคราะห์สวนยาง กรณีบ้านควนใต้ตําบลห้วยนํ้าขาวจังหวัดกระบี่ รัฐ
่
ได้ประกาศพื้นที่ซึ่งชาวบ้านอาศัยอยู่มานานนับร้อยปีเป็นพื้นที่ปาโดยห้ามอยู่อาศัยและยังห้ามตัดโค่น
่
ไม้ยางพาราที่หมดอายุเพื่อขอเงินสงเคราะห์ปลูกทดแทนในแปลงที่ติดอยู่ในเขตพื้นที่ปา
กรณีสิทธิในที่ดินและทรัพย์สิน กรณีนโยบายห้ามตัดโค่นยางพาราหมดอายุในเขตป่า
คําร้อง 5 ชุด จากชาวสวนยางพาราในเขตจังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา และจังหวัด
พัทลุง ครอบครองทําประโยชน์ ปลูกยางพารา ต่อเนื่องกว่า 10 ปี สามารถโค่นตัดยางแก่และขอปลูก
ทดแทนจากกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยาง (ส.ก.ย.) โดยแสดงหลักฐานใบเสียภาษีบํารุงท้องที่และ
่
เอกสารรับรองพื้นที่นอกเขตปาสงวนแห่งชาติหรือเป็นที่หวงห้ามของทางราชการอื่นจากกํานันหรือ
่
่
ผู้ใหญ่บ้าน ต่อมาเจ้าของสวนยางที่ ส.ก.ย. สงเคราะห์ถูกเจ้าหน้าที่ปาไม้จับกุมฐานบุกรุกปาสงวน
แห่งชาติ ส่งผลให้ ส.ก.ย. ยกเลิกการให้ทุนสงเคราะห์กับเจ้าของสวนยางที่ไม่มีเอกสารสิทธิรวม
่
่
ประมาณ 1 ล้านไร่ซึ่งอยู่ในเขตปาสงวนแห่งชาติและเขตปาอนุรักษ์
ชาวสวนยางจํานวนมากยืนยันให้รัฐบาลเร่งดําเนินการพิสูจน์สิทธิการทํากินก่อนการประกาศ
่
่
เขตปา เร่งดําเนินการปรับแนวเขตแผนที่ รังวัดแนวเขตปา โดยชาวสวนยางมีส่วนร่วมเพื่อการได้มา
ซึ่งที่ดินทํากินโดยชอบ ปี พ.ศ. 2545 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สํารวจข้อมูลสรุปพื้นที่สวนยางทั้ง
่
่
ประเทศ 13.5 ล้านไร่ มีเอกสารสิทธิ 10.7 ล้านไร่ และอยู่ในเขตปาสงวนแห่งชาติและปาอนุรักษ์ 2.8
ล้านไร่ พ.ศ. 2546 กระทรวงเกษตรฯเสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้องค์การสวนยาง (อ.ส.ย.) เป็นผู้เข้าทํา
่
่
ประโยชน์สวนยางในพื้นที่ปาต่อจากกรมปาไม้ ปี พ.ศ. 2547 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติโครงการแปลง
5‐59