Page 132 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 132
่
สวนยางเป็นทุน มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อไม้ยางของเกษตรกรที่อยู่ในเขตปาสงวนเป็นทุน 2. เพื่อแปลง
ไม้ยางของเจ้าของสวนยางสงเคราะห์เป็นทุน และ 3. เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับไม้ยางและอุตสาหกรรมไม้
ยาง ในขณะที่ชาวสวนยางต้องการให้โค่นยางเก่าได้ โดยไม่จําเป็นต้องขอกู้จากกองทุนสวนยาง
่
่
นโยบายการประกาศปาสงวนแห่งชาติ - ปาอนุรักษ์ และการยกเลิกการให้ทุนสงเคราะห์กับ
่
สวนยางติดเขตปา ทําให้ชาวสวนยางจํานวนหนึ่งต้องสมัครเข้าโครงการแปลงสวนยางเป็นทุนเพื่อตน
จะได้ทําประโยชน์ ภายใต้เงื่อนไขขององค์การสวนยาง ทําให้ชาวสวนยางเสียประโยชน์ในเรื่องพื้นที่
ทํากิน - ได้รับการจัดสรรน้อยกว่าที่เคยครอบครองทําประโยชน์ เรื่องระยะเวลา และเรื่องการถูกหัก
่
ราคาขายนํ้ายาง ชาวสวนยางเรียกร้องให้รัฐเร่งพิสูจน์สิทธิการทํากินในเขตปาเพื่อเกษตรกรจะได้มี
สิทธิทํากินในที่ดินโดยชอบ
่
กระบวนการละเมิดสิทธิ ส่วนใหญ่เริ่มจากการใช้อํานาจตามกฎหมายประกาศเขตปาทับที่อยู่
่
อาศัยทํากินของราษฎรและชุมชน การห้ามกระทําการใด ๆ ในเขตปา รวมทั้งไม่ยอมอนุญาตให้
หน่วยงานพัฒนาของรัฐเข้าไปสร้างสาธารณูปโภคและส่งเสริมการเกษตร เช่นการสงเคราะห์สวนยาง
่
และมีการจับกุมลงโทษหากมีการฝาฝืน ตลอดจนการกดดันให้ออกจากพื้นที่โดยใช้ความรุนแรง
ทําลายทรัพย์สิน ทําลายพืชผลอาสินของราษฎรให้เสียหายจนอยู่ไม่ได้และต้องอพยพออกไปหรือหาก
้
ไม่ยอมอพยพออกก็จะจับกุมฟองร้องดําเนินคดีจนถูกพิพากษาจําคุก
เหตุปัจจัยปัญหาการละเมิดสิทธิ
ั
ั
จากกรณีศึกษาพบว่าเหตุปจจัยที่ทําให้เกิดปญหาการละเมิดสิทธิมีหลายประการ อาทิเช่น
่
่
1) นิยามปาและการกําหนดพื้นที่ปา
2) การให้อํานาจเจ้าหน้าที่ใช้ดุลพินิจเกินขอบเขต
่
3) การห้ามใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ปา
4) ขอบเขตและการยอมรับสิทธิชุมชน
5) รัฐมีนโยบายแสวงหาผลประโยชน์ในด้านอื่น เช่นการพัฒนาอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว
่
6) นโยบายปาไม้แห่งชาติ
7) นโยบายเพื่อความมั่นคง แนวชายแดนมักอพยพชาวบ้านออก สมัยต่อสู้กับ ผ.ก.ค.
่
8) การประกาศปาซํ้าซ้อน เป็นการเพิ่มเงื่อนไขความรุนแรงทางกฎหมายใช้บังคับราษฎร
่
ั
9) ไม่ฟงคําคัดค้านของชาวบ้าน เกาะลันตา ชาวบ้านคัดค้านการประกาศปาสงวน หนังสือ
ค้านค้างอยู่ที่อําเภอไม่มีการดําเนินการต่อ
่
10) เจ้าหน้าที่มีทัศนคติที่ไม่ดีกับราษฎรในเขตปา โดยเฉพาะการทําไร่หมุนเวียนของชนเผ่า
ั
11) การดําเนินการแก้ปญหาล่าช้า
่
12) การไม่สํารวจพื้นที่ก่อนการกําหนดเขตปา ขาดการมีส่วนร่วมของราษฎร
่
13) เจ้าหน้าที่ใช้อํานาจขยายแนวเขตปาตามดุลพินิจ
่
14) เจ้าหน้าทีแสวงหาผลประโยชน์จากชาวบ้านในเขตปา
ข้อมูลจากการพิจารณาคําร้องเรียนการละเมิดสิทธิดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่า
่
กระบวนการตรวจสอบและคุ้มครองประชาชนไม่ให้ถูกละเมิดสิทธิด้านที่ดินและปาต้องใช้เวลานานมาก
และแม้กระทั่งเรื่องร้องเรียนที่มีรายงานการตรวจสอบออกไปแล้ว ก็ไม่สามารถบังคับให้หน่วยงานที่ถูก
5‐60