Page 133 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 133

้
                       ร้องเรียนว่าละเมิดปรับปรุงแก้ไขการกระทําได้ ไม่อาจช่วยปกปองคุ้มครองการละเมิดสิทธิของราษฎร
                       ที่ได้รับความเดือดร้อนได้ทันท่วงที และประเด็นสําคัญคือความเดือดร้อนที่เกิดจากการกระทําที่มี
                                                              ่
                       ลักษณะเดียวกันซํ้าซาก เช่นการประกาศเขตปาของรัฐทับที่ราษฎรและชุมชน การกระทําด้วยความ
                       รุนแรงเช่นข่มขู่คุกคาม ขับไล่รื้อถอนบ้านเรือนทรัพย์สินและพืชผลอาสิน ตลอดจนการจับกุมดําเนินคดี
                       จนถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุก
                              ที่เป็นเช่นนี้เพราะการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐยึดถือกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่

                       เก่าแก่ไม่ทันกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมแต่เป็นประโยชน์แก่หน่วยงานของตนเอง
                                                                                      ่
                                                 ่
                       โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายปาไม้ 5       ฉบับ ได้แก่พระราชบัญญัติปาไม้ พุทธศักราช 2484
                                                                                ่
                       พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504  พระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507
                                                       ่
                                                                                        ่
                       พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ. 2535 รวมทั้ง
                               ่
                       นโยบายปาไม้แห่งชาติ และมติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญเช่นมติ ครม.เมื่อวันที่ 30 มิ.ย. 2540  ตลอดจน
                                   ่
                       นโยบายจากฝายการเมืองและการบริหารจัดการของเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งไม่สอดคล้องกับบริบททางสังคม
                                                                                              ่
                       และวัฒนธรรมประเพณีและชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรในท้องถิ่น เช่นโครงการปลูกปาขนาดใหญ่ซึ่ง
                       มักจะถางพืชพรรณที่มีอยู่เดิมตามธรรมชาติออกก่อน การจํากัดรอบหมุนเวียนการทําไร่ของชนเผ่า
                                                         ่
                       กระเหรี่ยง การไม่ยอมรับการจัดการปาใช้สอยตามจารีตประเพณีของชุมชน แต่ไม่ปฏิบัติตาม
                                                  ่
                                                                                              ั
                       รัฐธรรมนูญและมติของอํานาจฝายบริหารเช่นมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการแก้ไขปญหาที่ดินของ
                       เกษตรกรที่ร้องเรียนต่อรัฐบาลในวาระและโอกาสต่าง ๆ ซึ่งจะได้อธิบายในลําดับต่อไป


                       5.5 วิเคราะห์การละเมิดสิทธิในที่ดินป่าไม้
                                                                                              ่
                                                            ่
                              หลักคิดของการบริหารจัดการที่ดินปาไม้ที่นําไปสู่แนวทางปฏิบัติคือนโยบายปาไม้แห่งชาติที่
                                                                                                      ่
                                 ั
                       ยังใช้อยู่ในปจจุบัน นโยบายนี้นั้นเกิดขึ้นจากข้อเสนอแนะให้มีการจัดตั้ง“คณะกรรมการนโยบายปาไม้
                                                                                                      ่
                                                       ่
                       แห่งชาติ”  ซึ่งคณะกรรมการรัฐมนตรีฝายเศรษฐกิจได้มีมติเห็นชอบให้มีคณะกรรมการนโยบายปาไม้
                                                                                              ่
                       แห่งชาติเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2527 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบนโยบายปาไม้แห่งชาติที่
                                           ่
                                                                                                      ่
                       คณะกรรมการนโยบายปาไม้แห่งชาติเสนอเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2528  รวมทั้งยังมีนโยบายด้านปาไม้
                       ปรากฏอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเกือบทุกฉบับ
                                                                                     ่
                                                                                                         ่
                                                      ่
                              จากการประกาศใช้นโยบายปาไม้แห่งชาติเมื่อปี 2528 ทําให้กรมปาไม้ได้เร่งประกาศเขตปา
                                                                                       ่
                                                                                ่
                                                                ่
                       อนุรักษ์ ทั้งอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา เขตห้ามล่าสัตว์ปา และปาต้นนํ้าชั้น 1 เอ แต่อีก
                                                                                       ่
                       ด้านหนึ่งนั้น รัฐได้สนับสนุนภาคเอกชนให้เข้ามาดําเนินการส่งเสริมการปลูกปาเศรษฐกิจเชิงพาณิชย์
                                                      ่
                       และการส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ปาโดยที่ไม่มีมาตรการในการอนุรักษ์รองรับ
                                                                             ่
                              ตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นถึงความขัดแย้งระหว่างนโยบายปาไม้และแนวทางปฏิบัติของรัฐ และ
                                                                     ่
                        ั
                       ปญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากนโยบายของรัฐในด้านปาไม้ที่ละเมิดสิทธิของชุมชนนั้นคือ กรณีเมื่อปี
                                                                                         ่
                                                                                                    ่
                       2535  ได้มีมติคณะรัฐมนตรีจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินปาไม้ในพื้นที่ปาสงวน
                                                             ่
                                                                               ่
                       แห่งชาติที่มีจํานวน 147 ล้านไร่ ประกอบด้วยปาอนุรักษ์ 88 ล้านไร่ ปาเศรษฐกิจ 52 ล้านไร่ และพื้นที่
                                                                                                     ่
                       เกษตรกรรม 7 ล้านไร่ แต่จากการสํารวจโดยภาพถ่ายในปี 2536 พบว่า ประเทศไทยมีพื้นที่ปาจริง
                                                                                           ่
                                                                 ่
                       เพียง 83 ล้านไร่ ซึ่งหมายความว่า มีการประกาศปาสงวนแห่งชาติทั้งหมดรวมถึงปาอนุรักษ์เกินกว่า
                                                                                                      5‐61
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138